Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
การพยาบผู้สูงอายุ
แนวคิดและหลักการพยาบาลผู้สูงอายุ
แผนพัผู้สูงอายุแห่งชาติ
ระบบคุ้มครองทางสังคมของผู้สูงอายุ
การบริหารจัดการ เพื่อพัฒนางานผู้สูงอายุแหงชาติ และการพัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุ
การส่งเสริมผู้สูงอายุ
การประมวลและพัฒนาความรู้ด้านผู้สูงอายุ
การเตรียมความพร้อมของประชากร เพื่อวัยสูงอายุที่มีคุณภาพ
ประเภทของผู้สูงอายุ
ตามการพึ่งพา : ADL
กลุ่มติดบ้าน (ADL = 5-11 คะแนน)
กลุ่มติดเตียง (ADL = 0-4 คะแนน)
กลุ่มผู้สูงอายุที่พึ่งตนเอง/ติดสังคม (ADL ≥ 12 คะแนน)
ตามคุณลักษณะของผู้สูงอายุ
การสูงอายุอย่างประสบความสำเร็จ (Successful aging)
หลีกเลี่ยงความเจ็บป่วยและความพิการ
คงไว้ซึ่งความสามารถด้านร่างกาย และสติปัญญาในระดับสูงสุด
การยังคงกิจกรรมอย่างสร้างสรรค์ และต่อเนื่อง
พฤฒพลัง (Activeaging)
การรับรู้ความสามารถในการควบคุมปรับตัว และการตัดสินในชีวิตประจําวัน (Coping)
ความสามารถในการดําเนินชีวิตได้ด้วยตนเอง (Independence)
คุณภาพชีวิต(Quality of life)
ภาวะเปราะบางในผู้สูงอายุ (Frail aging)
ผู้สูงอายุที่มีภาวะพิการ ไร้ความสามารถหรือไร้สมรรถภาพ (Disability)
การสูงอายุที่ยังคงประโยชน์ (Productive aging)
ผู้สูงอายุ 60 ปีข้ึนไปที่ยังสามารถทํางานหรือทํากิจกรรมเชิงธุรกิจหรือกิจกรรมบริการท้ังที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
ตามวัย
คนชรา (old) มีอายุ ระหว่าง 75 – 90 ปี
คนชรามาก (Very old) มีอายุ 90 ปีข้ึนไป
ผู้สูงอายุ (Elderly) มีอายุ ระหว่าง 60 – 74 ปี
การบริการสุขภาพ
การดูแลระยะกลาง
การดูแลผู้ป่วยที่มีอาการผ่านพ้นวิกฤตและมีอาการคงที่ แต่ไม่เกิน 6 เดือน
การดูแลระยะยาว
การดูแลภาวะยากลำบาก เนื่องมาจากภาวะการณ์เจ็บป่วยเรื้อรัง อุบัติเหตุ
การดูแลแบบประคับประคอง
การดูแลเพื่อบรรเทาความปวด และความทุกข์ทรมาน เช่น การผ่าตัด
ความหมาย
ผุ้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป
ผู้ที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป (ประเทศตะวันตก)
ระดับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ
ระดับสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged society)
อายุ 65 ปีขึ้นไปมากกว่า ร้อยละ 20 ของประชากรทั้งประเทศ
ระดับสังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มที่ (Super-aged society)
อายุ 60 ปี ขึ้นไป มากกว่ารอ้ ยละ 20 ของประชากรท้งั ประเทศ
อายุตั้งแต่ 65 ปี มากกว่าร้อยละ14 ของประชากรทั้งประเทศ
ระดับการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging society)
อายุ 60 ปี ขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรท้ังประเทศ
อายุตั้งแต่ 65 ปี มากกว่าร้อยละ 7 ของประชากรทั้งประเทศ
จริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ
หลักจริยธรรม
ความยุติธรรม (Justice)
ความซื่อสัตย์และความมีสัจจะ (Fidelity and veracity)
การไม่ทำความชั่ว (Nonmaleficence)
เอกสิทธิ (Autonomy)
การทำความดี (Beneficence)
การบอกความจริง (Veracity or truth telling)
เจตคติต่อการดูแลผู้สูงอาย
ความหมาย
ความรู้สึกนึกคิดของบุคคลที่มีต่อผู้สูงอายุ เป็นความคิด ความรู้สึก อารมณ์ที่มีต่อผู้สูงอายุ ทั้งด้านบวก และลบ
เจตคติเชิงลบ (Ageism)
ความเชื่อผิดๆต่อความสูงอายุ (Myth of aging)
ทัศนคติแบบเหมารวม (Stereotype)
การปฏิบัติที่ไม่เหมาะสม (Mistreatment)
การกระทําทารุณกรรมต่อผู้สูงอายุ (Elder abuse)
แนวทางแก้ไขเจตคติทางลบ
ปรับเจตคติผู้ให้บริการเป็นเชิงบวก
ผู้สูงอายุเป็นผู้ที่มีคณุค่าต่อสังคม
ผู้สูงอายุคือหลักชัยของสังคม
ปรับเจตคติผู้สูงอายุและครอบครัวเป็นเชิงบวก
ลดอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการหรือแสวงหาทางเลือก
ให้ความรู้กับผู้สูงอายุและครอบครัวเกี่ยวกับการปฏิบัติ
ตัวที่เหมาะสมต่อผู้สูงอายุ
การเสริมพลังอำนาจให้มีความเชื่อมั่นในศักยภาพ และความสามารถแห่งตน
การประเมินภาวะผู้สูงอายุ
ลักษณะของ CGA
ความสามารถในการปฏิบัติหน้าท่ีและคุณภาพชีวิต
ประเมินปัญหาที่พบบ่อย
ปัญหา 5I หรือ Five I’s
การกลั้นปัสสาวะ อุจจาระไม่อยู่ (Incontinence) และความผิดปกติท่ีไม่ทราบสาเหตุ (Iatrogenic disorders)
ความไม่มั่นคง (Stability)
การไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกาย (Immobility)
ความบกพร่องด้านร่างกาย (Impairment)
ความเฉลียวฉลาด (Intellectual)
เน้นผู้สูงอายุที่มีปัญหาซับซ้อน
ประโยชน์ของ CGA
ปรับปรุงกระบวนการดูแล
ปรับปรุงผลลัพธ์การดูแล
ลดค่าใช้จ่าย และส่งเสริมให้ผู้สูงอายุอยู่บ้านและชุมชนให้นานที่สุด
การประเมินสมรรถภาพจิต/สมองของผู้สูงอายุ
แบบประเมินความเศร้าในผู้สูงอายุไทย (Thai Geriatric depression
scale)
แบบประเมินภาวะสมองเสื่อม Mini-cog
แบบประเมินพุทธิปัญญา Montreal CognitiveAssessment (MoCA)
แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้น (Mini MentalState Examination-
Thai 2002)
ทฤษฎีผู้สูงอายุ
ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ
Genetic program and error theory
ยีนส์จากพันธุกรรมของแต่ละคน เป็นตัวกําหนดอายุขัยของแต่ละคน
Accumulative theory
การสะสมสารที่เป็นอันตรายต่อการทําหน้าที่ของเซลล์สารนี้คือไลโปฟัสซิน (lipofuscin)
Wear and tear theory
ความชราเป็นผลมาจากการเสื่อมของเซลล์ในร่างกาย ที่ไม่สามารถจะถูกซ่อมแซมหรือทดแทนได้ : หลอดเลือดแข็ง
Free radical theory
กระบวนการชราภาพเกิดจากการถูกทําลายโดยอนุมูลอิสระ
อาหารทอด แสงแดด สูบบุหรี่ มลพิษ
Cross linkage theory
เมื่ออายุมากขึ้น collagen จะมีการเชื่อมตามขวางมากขึ้น พบมากที่ผิวหนัง เอ็นกระดูก กล้ามเนื้อ หลอดเลือดและหัวใจ
ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม
Disengagement theory
กระบวนการที่คนเราถดถอย หรือถอนตัวออกจากสังคม โดยการถอนตัวดังกล่าวเป็นการยอมรับของทั้งตัวผู้สูงอายุเอง และของสังคม
Activity theory
ผู้สูงอายุควรมีการดําเนินชีวิต เช่นเดียวกับวัยกลางคน และควรปฏิเสธการสูงอายุให้นานที่สุดเท่าที่จะทําได้
Continuity theory
การดําเนินชีวิตเดิมที่เคยทําในอดีตและสามารถทําต่อไปได้อย่างต่อเนื่อง
การเปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบรับความรู้สึก
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบประสาท
ระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบผิวหนัง
การเตรียมความพร้อมสู่วัยสูงอายุ
การเตรียมตัวด้านสุขภาพร่างกายและจิตใจ
การเตรียมตัวด้านการเงิน
การเตรียมตัวด้านที่อยู่อาศัย สถานที่อยู่
การเตรียมตัวด้านการมีส่วนร่วมในสังคมและงานอดิเรก
ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ
ปัจจัยภายนอก
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิตรอบตัวผู้สูงอายุ เช่น การศึกษา เศรษฐานะ และการเกษียณจากการทํางาน
ปัจจัยภายใน
เกี่ยวข้องกับตัวผู้สูงอายุโดยตรง เช่น ภาวะสุขภาพและ พฤติกรรมสุขภาพ
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคม
การเจ็บป่วยเรื้อรัง และการสูญเสียความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรม
การย้ายที่อยู่จากทำเคยอยู่ประจํา
การสูญเสียคู่ชีวิตหรือเพี่อนวัยเดียวกัน
การเกษียณอายุจากงานที่เคยทํา
ทัศนคติไม่ดีต่อการสูงอายุ (ageism)