Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้เลือด - Coggle Diagram
การให้เลือด
ขั้นตอนการปฏิบัติ แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน
1. ขั้นตอนการขอรับเลือดและส่วนประกอบของเลือดจากธนาคารเลือด
2. ขั้นตอนการตรวจสอบเลือดและส่วนประกอบของเลือด
3. ขั้นตอนการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
4. ขั้นตอนการดูแลผู้ป่วยขณะได้รับเลือดและส่วนประกอบของเลือด
5. ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อพบอาการแทรกซ้อนขณะได้รับเลือดหรือส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนการ Mix เลือด ใน EDTA tube
1. ไม่ควรเปิดจุกเพราะเป็นหลอดสูญญากาศ และเลือดจะถูกดูดไปในหลอดอัตโนมัติ
2. ควรเปลี่ยนหัวเข็มให้มีขนาดใหญ่ขึ้นก่อนแทงเข็มใส่เลือดในหลอดสุญญากาศป้องกันเลือด Hemolysis
3.ใส่เลือดในปริมาณตามขีดที่กำหนดไว้ในหลอด ไม่ควรใส่เกินที่กำหนด
4. ทำการ Mix เลือดไปมาอย่างน้อย 6 ครั้ง
เพื่อป้องกันการแข็งตัวของเลือด
สาเหตุของการเกิดภาวะแทรกซ้อนหรือปฏิกิริยาไม่พึงประสงค์
1) การให้เลือดผิด (Incorrect blood componenttransfused, IBCT หรือWrong blood transfused) : ผู้ป่วยได้รับส่วนประกอบของเลือดผิดพลาด ได้แก่ ผู้ป่วยได้รับเลือดผิดหมู่เลือด, ได้รับส่วนประกอบของเลือดผิดชนิด เช่น แพทย์สั่งเม็ดเลือดแดงแต่ผู้ป่วยได้รับเกล็ดเลือด เป็นต้น
2) การไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนด (Specific requirements not met, SRNM) : ผู้ป่วยได้รับส่วนประกอบของเลือดที่ไม่เป็นไปตามที่กำหนด ได้แก่ ไม่ได้ให้ส่วนประกอบของเลือดที่ผ่านการฉายรังสีเมื่อมีข้อบ่งชี้ เป็นต้น
3) การให้เลือดที่ไม่เหมาะสม(Inappropriate transfusion) : การให้เลือดโดยไม่มีข้อบ่งชี้หรือไม่มีความล่าช้าในการให้เลือด และการให้เลือดในปริมาณน้อยกว่าที่ควร
4) ความผิดพลาดในการปฏิบัติเกี่ยวกับถุงเลือดและการจัดเก็บส่วนประกอบของเลือด(Handling and storage errors: HSE) : ให้เลือดแก่ผู้ป่วยถูกต้องตามแพทย์สั่งและให้ถูกคนแต่เลือดหรือส่วนประกอบของเลือดนั้นถูกจัดเก็บหรือนำส่งผิดพลาดจนมีผลเสียทำให้เลือดยูนิตนั้นไม่ปลอดภัยต่อผู้ป่วย
วัตถุประสงค์ของการให้เลือด
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับเลือดและส่วนประกอบของเลือด ถูกต้องตามแผนการรักษา
เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับเลือดและส่วนประกอบของเลือด
ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติงานในการให้เลือดและส่วนประกอบของ
เลือดอย่างเป็นระบบ และเป็นไปในแนวทางเดียวกัน
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
(Adverse transfusion reactions)
1. ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการติดเชื้อ (Transfusion-transmitted infections: TTIs)
1.1 การปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรีย (Bacterial contamination)
1.2 การติดเชื้อปรสิต (Parasistic infection)
1.3 เชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดต่างๆ (Hepatitis)
1.4 เชื้อไวรัสเอสไอวี (Human immunodeficiency virus, HIV) เป็นต้น
2. ภาวะแทรกซ้อนที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ (Non-infectious adverse reactions)
2.1 Hemolytic transfusion reactions (HTR): เลือดของผู้บริจาคที่นำมาให้กับผู้ป่วยนั้นเข้ากันไม่ได้ (ABO incompatibility)
2.2 Non hemolytic transfusion reactions (NHTR)
1) Febrile non hemolytic transfusion reaction (FNHTR) : ปฏิกิริยาระหว่างแอนติบอดีในผู้ป่วยที่ได้รับโลหิตกับแอนติเจนที่อยู่บนเป็นโปรตีนในพลาสมา, เม็ดเลือดขาว หรือเกล็ดเลือดของผู้บริจาค หรือการได้รับสารไซโตไคน์ (Cytokine)ที่หลั่งออกมาจาก
เม็ดเลือดขาวที่สลายตัว
3) Transfusion associated circulatory overload (TACO): ผู้ป่วยได้รับเลือดในอัตราที่เร็วมากเกินไป
อาการ/อาการแสดง : หายใจไม่สะดวก ไอ แรงดันในหลอดเลือดดำสูง หัวใจเต้นเร็วความดันโลหิตสูง