Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Thoracocentesis - Coggle Diagram
Thoracocentesis
หมายถึง
การเจาะปอด (thoracentesis/ thoracocentesis) หมายถึง การแทงเข็มเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด เพื่อดูดของเหลวหรืออากาศออก ตำแหน่งที่ใช้เจาะขึ้นอยู่กับสิ่งที่ต้องการดูดออก
วัตถุประสงค์
-
- การรักษา เช่น ลดแรงดันในเยื่อหุ้มปอด ให้ยาเข้าในช่องเยื่อหุ้มปอด ลดอาการปวดและอาการหายใจลำบาก เป็นต้น
- ระบายของเหลวออกจากช่องเยื่อหุ้มปอด เพื่อลดอาการอึดอัด แน่นหน้าอก หายใจลำบากและระบายหนองที่เกิดจากการติดเชื้อ
- ระบายลมหรือเลือดซึ่งเกิดจากภาวะมีลมในช่องเยื่อหุ้มปอด (pneumothorax) และภาวะมีเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มปอด (hemothorax)
การพยาบาลก่อนเจาะปอด
-
เตรียมผู้ป่วย
1.จัดท่านั่งห้อยเท้าข้างเตียงโดยมีที่รองรับเท้า แล้วฟุบศีรษะลงบนหมอนที่
วางไว้บนโต๊ะคร่อมเตียงยกแขนทั้งสองข้างขึ้นวางบนหมอน หรือท่านอนตะแคง ยกศีรษะสูง หัน
ลำตัวด้านที่จะเจาะไว้ข้างบน ยกมือข้ามศีรษะมาจับหัวเตียง
-
3.บอกผู้ป่วยห้ามไอ ห้ามหายใจลึก ๆ และห้ามเคลื่อนไหวขณะเจาะ ถ้าจะไอ
ให้ส่งสัญญาณให้ทราบ ถ้าผู้ป่วยมีอาการไอมาก แพทย์อาจให้ยาระงับไอ 1 ชั่วโมง ก่อนเจาะ
-
การพยาบาลขณะเจาะปอด
1.ตรวจสอบอาการเปลี่ยนแปลง โดยประเมินชีพจร การหายใจ สีผิว อาการเวียนศีรษะเป็นลม คลื่นไส้อาเจียน เตือนผู้ป่วยไม่ให้ไอและเคลื่อนไหว สังเกตสัญญาณจากผู้ป่วย
-
3.ในกรณีที่เจาะปอดเพื่อบรรเทาอาการหายใลำบาก แพทย์จะดูดของเหลวออกไม่เกิน1.5 ลิตร และใช้เวลาไม่เกิน 30 นาที ให้สังเกตอาการ และความรู้สึกของผู้ป่วยเป็นระยะ ๆ
4.เมื่อแพทย์ดูดของเหลวออกได้จำนวนตามต้องการแล้ว แพทย์จะดึงเข็มออกจากนั้นปิดบริเวณรอยเจาะให้แน่นด้วยผ้าก็อช และผ้าปิดแผลชนิดเหนียว
การพยาบาลหลังเจาะปอด
1.ตรวจบริเวณที่เจาะว่ามีการรั่วซึมของของเหลวหรือไม่ ถ้ามีของเหลวไหลซึมทำ
การเปลี่ยนผ้าก็อซให้ใหม่แล้วรายงานแพทย์
- แพทย์อาจมีคำสั่งให้ผู้ป่วยถ่ายภาพรังสีทรวอก หรือเจาะเลือดตรวจหาค่าเกลือแร่
เพื่อประเมินภาวะผู้ป่วยหลังเจาะปอด
3.การจัดท่า โดยให้ผู้ป่วยนอนตะแคงทับด้านที่เจาะปอดอย่างน้อย 1 ชั่วโมง เพื่อป้องกันการรั่วซึมของน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด (pleural fuid) จากนั้นจึงให้ผู้ป่วยนอนในท่าที่ผู้ป่วยสบายที่สุด
-