Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่กับสถาบัน ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์, 63144116…
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่กับสถาบัน ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
วิวัฒนาการการเมือง
การปกครองไทย
อาณาจักรสุโขทัย (พ.ศ. 1781-1981)
ระบบการปกครองและเสรีภาพ
ลักษณะการปกครอง > พ่อปกครองลูก > หลักการปกครองแบบครอบครัว
กษัตริย์เปรียบเสมือนพ่อของครอบครัวใหญ่ ซึ่งเรียกว่า พ่อขุน > มีความใกล้ชิดกัน
โครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจของอาณาจักรสุโขทัยเป็นเศรษฐกิจการเกษตร
โครงสร้างสังคม
(1) ชนชั้นปกครอง กษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการ พระภิกษุสงฆ์
(2) ชนชั้นที่ถูกปกครอง สามัญชนหรือไพร่ และทาส
อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1893 – 2310) 417 ปี
ปัจจัยที่ทำให้กรุงศรีอยุธยาเรืองอำนาจ
ตั้งอยู่ใกล้เมืองท่าชายฝั่งทะเล ทำให้ทำการค้าได้สะดวก
มีแม่น้ำไหลผ่าน ทำให้เพราะปลูกข้าวได้ดี
3.การที่จักรวรรดิเขมรและอาณาจักรสุโขทัยตกต่ำลง
โครงสร้างเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
การปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น
ลัทธิเทวสิทธิ + มโนทัศน์ธรรมราชาจากสุโขทัย > ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกันข้าราชบริพารเป็น
สื่อกลางระหว่างกษัตริย์ และประชาชน > ระบบเจ้าขุนมูลนาย หรือศักดินา
การปฏิรูปการเมืองและการบริหารในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
การบริหารระดับชาติ
เปลี่ยนชื่อกรมต่างๆ ของจตุสดมภ์ เป็นดังนี้
กรมเวียง ใช้ชื่อว่า นครบาล
กรมวัง ใช้ชื่อว่า ธรรมาธิกรณ์
กรมคลัง ใช้ชื่อว่า โกษธิบดี
กรมนา ใช้ชื่อว่า เกษตราธิการ
มีการแยกกิจการทหารออกจากกิจการพลเรือน
ได้แก่
สมุหนายก เป็นหัวหน้าราชการฝ่ายพลเรือน
สมุหพระกลาโหม เป็นหัวหน้าราชการฝ่ายทหาร
แต่ในยามสงครามทั้ง 2 ฝ่าย ต่างต้องร่วมกันรบ
การปฏิรูปองค์การทางสังคม
ระบบศักดินา
> มาตราวัด
ลำดับชั้นทางสังคม
แบ่งเป็น 2 ชนชั้น
ชนชั้นผู้ปกครอง
ชนชั้นผู้ถูกปกครอง
ระบบไพร่
เป็นส่วนหนึ่งของระบบศักดินา เป็นรากฐานให ้กับ
ระบบเศรษฐกิจ ไพร่สม ไพร่หลวง ไพร่ส่วย
อาณาจักรธนบุรี (2310 – 2325)
มีการสักไพร่ > เพื่อจัดระเบียบชาติไทยขึ้นใหม่
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ปฐมกษัตริย์
“พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก”
รัชกาลที่ 1
การปกครองและการบริหาร ฟื้นฟูสถาบันกษัตริย์
การจัดองค์กรทางสังคม ระบบศักดินา สักเลกไพร่
ด้านศาสนา มีการสังคายนาพระไตรปิฎก
ด้านเศรษฐกิจ การค้ากับจีน
รัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
เศรษฐกิจเงินตราและการค้าขยายตัว
ธุรกิจการค้าของราชสำนักขาดทุน ในขณะที่การค้าส่วนพระองค์
ทำกำไรอย่างงาม
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2)
พระปรีชาสามารถด้านศิลปกรรม
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1)
ป้องกันราชอาณาจักร
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3
เก็บภาษี (38 ชนิด)
มีระบบราชการเป็นกลไกการเก็บภาษี
(ระบบเจ้าภาษีนายอากร ส่วนใหญ่เป็นชาวจีน)
ระบบเจ้าภาษีนายอากร คือ ให้มีการจัดเก็บภาษีเป็นการผูกขาดโดยเอกชน
หนังสือจินดามณีเล่มที่สอง
ความรู้บนฝาผนังวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร
รัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
นโยบายเปิดประตู – สนธิสัญญาปี พ.ศ. 2398
(สนธิสัญญาเบาวริ่ง)
ห า ก จ ะ รัก ษ า เ อ ก ร า ช ข อ ง ส ย า ม เ อ า ไ ว้ ต้อง “เปิดประเทศ” และท าให้ทันสมัย > สนธิสัญญาเบาวริ่ง
พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5
การปฏิรูปและการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครองไทย
การสร้างรัฐชาติแบบใหม่ การรวมศูนย์อ านาจให้รัฐบาลกลางและการ
สร้างความเป็นอันเดียวกันของคนในรัฐชาติ
ยกเลิกระบบกินเมือง
การปกครองแบบเทศาภิบาล
มณฑล
จังหวัด
มีการปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดิน > กระทรวง
มีกองทัพแบบทันสมัย คือ การเกณฑ์ทหาร
การมีกระทรวงพระคลัง ระบบการเก็บภาษี > หอรัษฎากรพิพัฒน์
การปฏิรูปการศึกษา โดยการจัดหลักสูตรให้เป็นแนวเดียวกันทั่วประเทศใช้ภาษากลางคือ ภาษากรุงเทพ
การพัฒนาให้เกิดความทันสมัยในด้านต่างๆ เพื่อให้สยามเป็นสังคมสมัยใหม่
ท าให้มหาอ านาจตะวันตกไม่สามารถใช้เป็นข้ออ้าง
เพื่อยึดสยามเป็นเมืองขึ้น
การยกเลิกประเพณีต่างๆ ที่ถือว่าคร่ำครึ
มีการนำวิทยาการต่างๆ มาปรับใช้
การปฏิรูปสังคม : การเลิกทาสและเลิกระบบไพร่
การเลิกทาส
ค่อยเป็นค่อยไป ใช้เวลา 3 ทศวรรษ
การเลิกระบบไพร่
เป็นการปล่อยให้คนไทยได้รับเสรีภาพ ไม่ถูกเกณฑ์แรงงาน
สามารถประกอบกิจการที่มีผลผลิตในทางเศรษฐกิจ
เป็นการวางรากฐานของระบอบประชาธิปไตย
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6
การปฏิรูปในสมัยรัชกาลที่ 6
ได้ทรงพยายามที่จะทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตย ดุสิตธานี
มีเสรีภาพทางด้านความคิด
บรรยากาศการเมืองภายนอก ส่งผลต่อความคิดของคนไทย
สร้างความรู้สึกเรื่องชาตินิยม
เกิดกบฏ ร.ศ. 130 เพื่อท าการเปลี่ยนแปลง แต่ไม่ประสบความส าเร็จ
ประเทศสยามเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
จัดตั้งมหาวิทยาลัย
“จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย”
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7)
• พระราชทานรัฐธรรมนูญ
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล (รัชกาลที่ 8)
ยุติความขัดแย้งระหว่างชาวไทยและชาวไทยเชื้อสายจีน
พระราชปรารภในการผลิตแพทย์เพิ่มขึ้น
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9)
• โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าร
• ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 10)
•สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนยากไร้
•สร้างโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช
63144116 นิพิฐพนธ์ ปาลี