Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Albert Bandura ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม (Social Learning Theory), download…
Albert Bandura ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม (Social Learning Theory)
แนวคิดและทฤษฎี
แบนดูรามีความเชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ส่วนมากเป็นการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือการเลียนแบบ เนื่องจากมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบ ๆ ตัวอยู่เสมอ
ผู้เรียนต้องสามารถที่จะประเมินได้ว่าตนเลียนแบบได้ดีหรือไม่ดีอย่างไร และจะต้องควบคุมพฤติกรรมของตนเองได้ด้วย การเรียนรู้โดยการสังเกตจึงเป็นกระบวนการทางการรู้คิดหรือพุทธิปัญญา
การนำทฤษฎีมาประยุกต์ในการเรียนการสอน
3 ให้คำอธิบายควบคู่กันไปกับการให้ตัวอย่างแต่ละอย่าง
4 ชี้แจงขั้นตอนของการเรียนรู้โดยการสังเกตแก่นักเรียน
2 แสดงตัวอย่างของการกระทำหลาย ๆ อย่าง
5 จัดเวลาให้นักเรียนมีโอกาสที่แสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบ
1 บ่งชี้วัตถุประสงค์ที่จะให้นักเรียนแสดงพฤติกรรมหรือเขียนวัตถุประสงค์เป็นเชิงพฤติกรรม
6 ให้เสริมแรงแก่นักเรียนที่สามารถเลียนแบบได้อย่างถูกต้อง
ปัจจัยที่สำคัญในการเรียนรู้โดยการสังเกต
กระบวนการแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวอย่าง (Reproduction)
กระบวนการการจูงใจ (Motivation)
กระบวนการจดจำ (Retention)
กระบวนการความเอาใจใส่ (Attention)
ขั้นตอนการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นการได้รับมาซึ่งการเรียนรู้ (Acquisition)
สิ่งเร้าหรือการรับเข้า > บุคคล
ขั้นที่ 2 เรียกว่าขั้นการกระทำ (Performance)
สิ่งเร้าหรือการรับเข้า > บุคคล
ความสำคัญของการปฏิสัมพันธ์อินทรีย์และสิ่งแวดล้อม
B (Behavior) = พฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งของบุคคล
P (Person) = บุคคล (ตัวแปรที่เกิดจากผู้เรียน เช่น ความคาดหวังของผู้เรียน)
E (Environment) = สิ่งแวดล้อม
แบนดูราและผู้ร่วมงานได้แบ่งเด็กออกเป็น 3 กลุ่ม
เด็กกลุ่มที่สอง
มีตัวแบบที่ไม่แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว
เด็กกลุ่มที่สา
มไม่มีตัวแบบแสดงพฤติกรรมให้ดูเป็นตัวอย่าง
กลุ่มหนึ่ง
ให้เห็นตัวอย่างจากตัวแบบที่มีชีวิต แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว
คุณสมบัติของผู้เรียน
สามารถสร้างรหัสหรือกำหนดสัญลักษณ์ของสิ่งที่สังเกตเก็บไว้ในความจำระยะยาว
สามารถเรียกใช้ในขณะที่ผู้สังเกตต้องการแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบ
ผู้เรียนจะต้องมีความสามารถที่จะรับรู้สิ่งเร้า
บันดูรา และเม็นลอฟ
ได้ศึกษาเกี่ยวกับเด็ก ซึ่งมีความกลัวสัตว์เลี้ยง
บันดูราและเม็นลอฟได้ให้เด็กกลุ่มหนึ่งที่มีความกลัวสุนัขได้สังเกตตัวแบบที่ไม่กลัวสุนัข และสามารถจะเล่นกับสุนัขได้อย่างสนุก โดยเริ่มจากการค่อย ๆ ให้ตัวแบบเล่น แตะ และพูดกับสุนัขที่อยู่ในกรงจนกระทั่งในที่สุดตัวแบบเข้าไปอยู่ในกรงสุนัข
นางสาวนพมาศ ชัยสวัสดิ์ (12)