Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
GDMA2 - Coggle Diagram
GDMA2
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
- มีภาวะ Hypoglycemia (ก่อนคลอด)
ข้อมูลสนับสนุน
SD:
-OD: GDMA2
- ผู้ป่วย NPO ตั้งแต่ 24.00 น. (19/12/64)
-DTX (20/12/64 06.00 น.) = 73 mg%
-
เกณฑ์การประเมินผล
- สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ - อุณหภูมิร่างกาย 36.5-37.4 องศาเซลเซียส - ชีพจร 60-100 ครั้ง/นาที - อัตราการหายใจ 12-22 ครั้ง/นาที - ความดันโลหิต Systolic 80-135 mmHg Diastolic 60/85 mmHg 2.ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากภาวะน้ำตาลต่ำ เช่น เป็นลม ซึม สับสน 3. DTX Keep 80-180 mg%
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินสัญญาณชีพ
- ดูแลให้งดน้ำงดและอาหารทางปาก และให้หยุดยาตามแผนการรักษาคือ RI 1:1 0.5 unit/hr.และสารน้ำ 0.9% NSS 1,000 ml. IV rate 60 ml./hr. และเปลี่ยนเป็น 5%D/N/2 1000 ml. rate 60 ml/hr.
- เจาะเลือดส่งตรวจระดับ Electrolyte ในเลือดตามแผนการรักษา
- ดูแลให้ได้รับสารน้ำ 0.9%NSS 1,000 ml.+KCL 40 mEq IV rate 60 ml/hr. ตามแผนการรักษา
- เจาะติดตามระดับน้ำตาลปลายนิ้ว (DTX) ได้ 79 mg% และรายงานผลให้แพทย์ทราบ
- ปรับสารน้ำ 5%D/N/2 1000 ml. rate 60 ml/hr. เป็น rate 100 ml/hr.
-
-
-
-
:pen:หญิงไทย อายุ 32 ปี
วันที่รับไว้ในความดูแล 20 ธันวาคม 2564
- อาการสำคัญ มาตามนัดผ่าคลอด ในวันที่ 20 ธันวาคม 2564
- Dx. Previous caesarean section with GDMA2
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
- G2P1-0-0-1 (ครรภ์ที่ 2 จำนวนครั้งของการคลอดครบกำหนด 2 คน จำนวนครั้งของการคลอดทารกก่อนกำหนด 0 คน จำนวนครั้งของการแท้งบุตร 0 ครั้ง จำนวนบุตรที่มีชีวิตในปัจจุบัน 1 คน)
- GA 38 wks. 5 day by U/S
- LMP (Last Menstrual Period): 20 มีนาคม 2564
- EDC (Expected Date of Confinement): 27 ธันวาคม 2564 (7 วัน)
- ฝากครรภ์ครั้งแรก GA 121 wks by U/S ที่โรงพยาบาลเพชรเวช ฝากครรภ์ทั้งหมด 2 ครั้ง
- ย้ายไปฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลสิรินธร GA 20 wks. 1 day wks by U/S ฝากครรภ์ทั้งหมด 6 ครั้ง
- ฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลตำรวจครั้งแรก GA 28 wks 3 day by U/S ฝากครรภ์ทั้งหมด 15 ครั้ง
- รวมจำนวนฝากครรภ์ทั้งหมด 23 ครั้ง
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต
- G1 ปี 2560 FT คลอด C/S เพศหญิง น้ำหนัก 3,300 กรัม ที่ รพ.ตำรวจ แข็งแรงดี
- ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต: ปฏิเสธ
- ประวัติครอบครัว: ปฏิเสธการเจ็บป่วยในครอบครัว
- ประวัติการได้รับวัคซีนบาดทะยัก: ได้รับครบ 3 เข็ม เมื่อปี พ.ศ. 2560
- ประวัติการผ่าตัด: ผ่าตัดคลอด ปี 2560
- ประวัติการแพ้ยา/แพ้อาหาร: ปฎิเสธการแพ้ยาแพ้อาหาร
- :pen: น้ำหนักตัวก่อนการตั้งครรภ์ 55 kg.
น้ำหนักปัจจุบัน 63.5 kg. เพิ่มขึ้น 8.5 kg. (น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นน้อย)
- ไตรมาสที่ 1 GA 12 wks. 1 day. >>> 58.3 kg เพิ่มขึ้น 3.3 kg. (0.5-2 kg. )
:red_flag: น้ำหนักเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ
- ไตรมาสที่ 2 GA 27 wks. 6 day >>> 61.4 kg. เพิ่ม 3.1 kg. เฉลี่ย 0.4kg/wk.
:check: น้ำหนักเพิ่มตามปกติ
:smiley: ปกติ 0.5-1 kg./wk.
- ไตรมาสที่ 3 GA 38 wks. 3 day >>> 63.5 kg เพิ่ม 2.1 kg. :check:(0.21 kg/wk.)
:smiley: ปกติ 0.2-0.3 kg./wk
-
-
พยาธิสภาพ
คำจำกัดความ ภาวะที่ร่างกายไม่สามารถควบคุมระดับน้ําตาลกลูโคสในเลือดไม่ให้สูงเกินไป (Glucose Intolerance) ซึ่งระดับน้ําตาลที่สูงเกินไปนี้จะมีความรุนแรงมากน้อยเพียงใดก็ได้และภาวะนี้ต้องเกิดขึ้นหรือวินิจฉัยได้เป็นครั้งแรกขณะตั้งครรภ์
ขณะตั้งครรภ์มีการเปลี่ยนแปลงระบบเผาเผลาญคาร์โบไฮเดรตทำให้หญิงตั้งครรภ์มีแนวโน้มที่จะมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นจากเดิมเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงที่ไม่ตั้งครรภ์ เรียกว่าเกิดภาวะ diabetogenic effect ภาวะดังกล่าวอาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีแนวโน้มในการเป็นโรคเบาหวานแต่ยังไม่แสดงอาการมีโอกาสที่จะเกิดโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ภาวะ diabetogenic effect ดังกล่าวเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญสองประการในหญิงตั้งครรภ์ คือ การดื้อต่อฮอร์โมนอินซูลิน และการสร้างฮอร์โมนอินซูลินมากกว่าปกติ การดื้อต่อฮอร์โมนอินซูลินเป็นผลจากฮอร์โมน human placental lactogen (HPL) ซึ่งสร้างจากรก ฮอร์โมน HPL ออกฤทธิ์ต้านการทำงานของฮอร์โมนอินซูลิน ทำให้เนื้อเยื่อต่างๆ ของร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในกระแสเลือดเข้าสู่เซลล์ได้ ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดของหญิงตั้งครรภ์สูงขึ้น โดยเฉพาะหลังรับประทานอาหาร เรียกว่ามีภาวะ postprandial hyperglycemia จากผลของการดื้อต่อฮอร์โมนอินซูลิน ทำให้ร่างกายของหญิงตั้งครรภ์มีความต้องการปริมาณฮอร์โมนอินซูลินเพิ่มมากขึ้น จึงมีการสร้างฮอร์โมนนี้เพิ่มขึ้น ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำลงเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงที่ไม่ได้ตั้งครรภ์การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเห็นชัดเจนในขณะที่หญิงตั้งครรภ์อยู่ในภาวะอดอาหาร เรียกว่าภาวะ fasting hypoglycemia
อาการและอาการแสดง
โรคเบาหวานทราบได้จากการตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะและมีระดับน้ำตาลในเลือดสูง ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในระดับปกติได้และมีอาการรุนแรงขึ้น ดังนี้
- ปัสสาวะมาก (polyuria)
- คอแห้ง กระหายน้ำ (polydipsia)
- หิวบ่อย (polyphagia)
- น้ำหนักลด (weight loss)
กระเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การชั่งน้ำหนัก ประเมินค่า BMI ประเมิน PIH ร่วมกับการตั้งครรภ์ ขนาดมดลูกโตกว่าอายุครรภ์ ปริมาณน้ำคร่ำมากกว่าปกติ
-
การซักประวัติ
เกี่ยวกับความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน เช่น อายุ โรคประจำตัว ประวัติคนในครอบครัว อาการผิดปกติต่าง ๆ เช่น ปัสสาวะบ่อย หิวบ่อย ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด ที่คลอดบตร น้ำหนักมากกว่า 4,000 กรัม หรือทารกพิการแต่กำเนิด การแท้ง ทารกพิการแต่กำเนิด
-
-