Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มารดา อายุ 31 ปี G2P0A1 GA 39+1 wks with C/S due to CPD, บรรณานุกรม, Power…
-
บรรณานุกรม
จันทรรัตน์ เจริญสันติ. (2557). สาระหลักทางการพยาบาลมารดา ทารกแรกเกิด และการผดุงครรภ์ เล่มที่ 2(ระยะตั้งครรภ์).เชียงใหม่: ครองช่างพริ้นติ้ง.
พวงน้อย สาครรัตนกุล และสุรเกียรติ อาชานุภาพ. (2552). คู่มือตั้งครรภ์คุณภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 14). กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.
เยื้อน ตันนิรันดร,วรพงศ์ ภู่พงศ์ และเอกชัย โควาวิสารัช.(2555). เวชศาสตร์มารดาและทารกในครรภ์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.
สุดา ใจห้าว. (2563). การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อน เนื่องจากการตั้งครรภ์. เอกสารประกอบการเรียนการผดุงครรภ์และการพยาบาลมารดาและทารก 2, นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
สุรีพร ศรีโพธิ์อุ่น. (2562).ภาวะหายใจเร็วชั่วคราวในทารกแรกเกิด บทบาทพยาบาลห้องคลอด. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 2(3), 11-19.
-
- Power แรงของการคลอด เป็นสิ่งสำคัญที่จะผลักดันให้ทารก รก และน้ำครํ่าผ่าน หนทางคลอดออกมาได้ แรงผลักดันนี้ประกอบด้วยแรงจาก 2 ส่วนคือ
1.1แรงจากการหดรัดคัวของมดลูก (Uterine contraction) เป็น Primary power ซึ่งอยู่นอกอำนาจจิตใจ มารดาไม่สามารถยับยั้งหรือบังคับให้เกิดขึ้นได้ได้แก่ การหดรัดคัวของ มดลูกเบาเกินไป ไม่เพียงพอที่จะทำให้เกิดการคลอดได้ และการหดรัดคัวของมดลูกแรงพอ แต่ไม่พร้อมเพรียงกัน ทำให้ผลรวมของแรงไม่เพียงพอที่จะทำให้เกิดการคลอดตามปกติได้
1.2แรงเบ่งของมารดา (maternal force) เป็น Secondary power เกิดจากการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้องและกระบังลม (Intraabdominal pressure) ทำให้ความดันในช่องท้อง เพิ่มขึ้นแรงนี้จะเกิดขึ้นในระยะที่ 2 ของการคลอด มีผลช่วยผลักดันให้ทารกเคลื่อนผ่านหนทางคลอดออกมาได้ ความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นได้แก่ มารดาไม่มีแรงเบ่ง
- Passenger สิ่งที่ผ่านออกมา ได้แก่ ทารก รก และเยื่อหุ้มทารก ที่สำคัญคือตัว ทารก และการเคลื่อนตํ่าของส่วนนำ ความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้น ได้แก่ Malpresentation (ส่วน นำผิดปกติ) เช่น ท่าก้น ท่าหน้า ท่าขวาง หรือ Malposition เช่น Occiput posterior , Occiput transverse หรือทารกในครรภ์ผิดปกติ เช่น ทารกตัวโตมาก ทารกศีรษะโต ท้องมาน
- Position ท่าของผู้คลอด มีผลต่อความก้าวหน้าการคลอด
- Physical condition สภาพร่างกายของผู้คลอด ผู้คลอดที่สภาพร่างกายอ่อนแอ มีอาการอ่อนเพลีย หรือมีภาวะแทรกซ้อนจะมีผลต่อผู้คลอดและทารก
- Psychological ภาวะทางจิตใจของมารดา ความหวาดกลัววิตกกังวลต่อการคลอด ประสบการณ์ที่ผ่านมาจากการได้รับรู้ในการอ่าน ฟัง พบเห็น เกี่ยวกับการตั้งครรภ์และการคลอด ซึ่งส่วนมากจะเป็นการคลอดที่ผิดปกติ จากประสบการณ์ที่ได้รับนี้ อาจก่อให้เกิดความฝังใจ และเกิดทัศนคติต่อการคลอด
-