Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วย Malaria - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วย Malaria
พยาธิสภาพ
พยาธิสภาพ: เชื้อมาลาเรีย ในเม็ดเลือดแดง ถูกพัดพา ไปตาม หลอดเลือดต่างๆ ในร่างกาย จนถึงระดับเส้นเลือดฝอยของอวัยวะต่างๆ เม็ดเลือดแดง เหล่านี้มี คุณสมบัติเกาะติดผนังหลอดเลือดได้ง่าย ทำให้เลือดเกิดความหนืดมากขึ้น เมื่อไหล่ผ่านเส้นเลือดฝอย ขณะเดียวกัน ส่วนประกอบการแข็งตัวของเลือด มีความผิดปกติไปด้วย จากการเปลี่ยนแปลงทั้งในส่วนของ เม็ดเลือดแดงเองและในส่วนพลาสม่าของเลือด รวมทั้งการเกิดก้อนตะกอนไฟบริน (fibrin thrombi) ในหลอดเลือด ขนาดเล็กโดยเฉพาะที่ สมอง ปอด หัวใจ ตับ และไต เป็นต้น ทำให้เซลล์ของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายขาดออกซิเจน มากน้อยเท่าไรขึ้นกับชนิดของอวัยวะ และสภาวะ ทางร่างกายของผู้ป่วย ขณะนั้น อวัยวะที่สำคัญเหล่านี้ ได้แก่ สมอง ตับ ม้าม และปอด เกิด focal necrosis ได้ เซลล์ของอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย มีปฎิกิริยาต่อการ ติดเชื้อมาลาเรีย ด้วยการเพิ่มจำนวน เซลล์กินเชื้อ (reticulo-endothelial system) เช่น Kupffer cell ในตับ และmacrophage ในม้าม เป็นต้น นอกจากนี้ malarial pigment ถ้ามาสะสมในอวัยวะมาก ทำให้อวัยวะที่ติดเชื้อมีสีเทาคล้ำ (slate-gray) เห็นได้ชัดที่ สมอง และม้าม
สาเหตุ
มีพาหะนาโรคคือ ยุงก้นปล่องเพศเมีย
แหล่งเพาะพันธุ์ของยุ่งก้นกล่องคือแหล่งน้ำตามธรรมชาติบนภูเขาสูงป่าทึบ
อาการ
มีไข้ และ หนาวสั่น เป็นระยะๆ สลับกันไป เนื่องจาก การแตกของ เม็ดเลือดแดง ที่มีเชื้อ มาลาเรีย พร้อมกับมี การขยายตัวของ หลอดเลือดฝอย อุณหภูมิใน ร่างกาย สูงขึ้น พร้อมกับ อัตราการเต้น ของหัวใจ และการหายใจ เพิ่มมากขึ้น หลังจาก ไข้ลด ผู้ป่วยส่วนมาก มีเหงื่อ ออกมาก และผิวหนัง เย็นชื้น พร้อมกับ อุณหภูมิใน ร่างกายลดลง เกิดการหนาวสั่น หลังจากนั้น เมื่อ เชื้อมาลาเรีย ที่อยู่ใน เม็ดเลือดแดง ชุดใหม่เริ่ม แตกอีก อาการไข้ ก็จะเริ่มต้น รอบใหม่อีกครั้ง ระยะเวลา ส่วนมากห่างกัน ประมาณ 48 ชั่วโมง ผู้ป่วย ส่วนมาก ซีด(anemia) เกิดจาก การแตกของเม็ดเลือดแดง (hemolysis) ตลอดระยะที่มี การติดเชื้อ ใน เม็ดเลือดแดง และเกิด hypersplenism ทำให้มี จำนวนเม็ดเลือดแดง และเกร็ดเลือด (platelets) ลดลง เกิดภาวะ thrombocytopenia, plasma fibrinogen อาจเพิ่มขึ้น หรือลดลง และตามมาด้วยความผิดปกติ ของการแข็งตัว ของเลือด (coagulopathy) ชนิด DIC ได้
การวินิจฉัย
-
ตรวจหา การติดเชื้อมาลาเรีย ด้วยปฎิกิริยาน้ำเหลืองได้ เช่น indirect hemagglutination antibody (IHA), ELISA, indirect fluorescent antibody test(IFA), complement fixation(CF).
การรักษา
-
ส่วนใหญ่มาลาเรียที่มีอาการรุนแรงหรือมีภาวะแทรกซ้อน จะเกิดจากPlasmodium falciparumมักเกิดภาวะมาลาเรียขึ้นสมอง ยาที่ให้เป็นยาฆ่าเชื้อชนิดฉีด
-
การพยาบาล
-
-
ตวงและบันทึกปริมาณน้ําเข้าและออกจากร่างกายเพื่อประเมินภาวะปอดคั่งน้ําและ สังเกตภาะแทรกซ้อนจากการให้ยาขับปัสสาวะ เมื่อมีแนวทางการรักษาให้ใช้ยาขับปัสสาวะ
-
-
-
-
-