Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายบนฐาน ทรัพยากรทางการศึกษา,…
นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายบนฐาน
ทรัพยากรทางการศึกษา
ความหมาย
การจัดการเรียนรู้
กิจกรรมของบุคคลซึ่งมีหลักและเหตุผล เป็นกิจกรรมที่บุคคลได้ใช้ความรู้ของตนเองอย่างสร้างสรรค์ เพื่อสนับสนุนให้ผู้อื่นเกิดการเรียนรู้และความผาสุก(Hough & Duncan, 1970: 144)
กระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนเพื่อที่จะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของผู้สอน
ฮิลล์ (Hills, 1982: 266) ให้คำจำกัดความของการจัดการเรียนรู้ไว้ว่าการจัดการเรียนรู้คือกระบวนการให้การศึกษาแก่ผู้เรียน ซึ่งต้องอาศัยปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
ความหมาย
สิ่งอำนวยความสะดวกที่ช่วยทำให้ครูสามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยให้ผู้เรียนได้เผชิญสถานการณ์ต่างๆ เพื่อผู้เรียนได้เรียนรู้ มีความรู้ ได้คิด ได้ปฏิบัติงาน เกิดทักษะ
ประเภท
ประเภทสื่อการเรียนรู้
สื่อวัสดุและสิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือ เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ บทเรียนสำเร็จรูป
สื่อโสตทัศนูปกรณ์ ได้แก่ ภาพยนตร์ สไลด์ โทรทัศน์ เพาเวอร์พอยท์ (Powerpoint) คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ประเภทเทคนิควิธีการเรียนรู้
การเรียนรู้แบบอุปนัย (Inductive)
การเรียนรู้ตาม
สภาพจริง ( Authentic Instruction)
การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Leanning)
การเรียนรู้ตามวัฎจักรการเรียนรู้ 4 MAT
การเรียนรู้โดยการสร้างเรื่อง ( Storyline Method)
ทรัพยากรทางการศึกษา
วิธีการ (Method) หมายถึง วิธีการหรือกระบวนการบริหารระบบการจัดการศึกษา เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลตรงกับความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ตลาด (Market) หมายถึง กระบวนการในการสื่อสารหรือประชาสัมพันธ์ให้ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียได้เห็นคุณค่าของการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานตามที่หน่วยงานต้นสังกัดกำหนด
วัสดุสิ่งของ (Materials) หมายถึง ตัวสินค้าหรือวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดการศึกษา
เครื่องจักร (Machine) หมายถึง เครื่องจักร อุปกรณ์ และเครื่องมือ เครื่องใช้ในการจัดการศึกษา
เงิน (Money) หมายถึง เงินหรือทรัพย์สินมีค่าที่แปรเปลี่ยนเป็นเงิน ซึ่งเป็นหัวใจที่สำคัญอย่างหนึ่งของระบบ
ความรู้ด้านการจัดการ (Management) หมายถึง การสั่งงาน ควบคุมงาน ดำเนินงาน
คน (Man) หมายถึง บุคลากรหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบการจัดการศึกษา
เวลา (Minute) หมายถึง ช่วงเวลา ระยะเวลา ในการดำเนินงาน
รูปแบบการจัดการเรียนรู้
การเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาด้านจิตพิสัย
ความหมาย
เกิดความรู้สึก เจตคติ ค่านิยม คุณธรรม และจริยธรรมที่พึงประสงค์ ซึ่งเป็นเรื่องที่ยากแก่การพัฒนาหรือปลูกฝัง
3 รูปแบบ
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการพัฒนาด้านจิตพิสัยของบลูม
รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยการซักค้าน
รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทบาทสมมติ
ตัวอย่าง
การพัฒนาด้านจิตพิสัยของบลูม
หลักการ/แนวคิด
ด้านเจตคติหรือความรู้สึก (affective domain)
ด้านทักษะ (psycho-motor domain)
ด้านความรู้ (cognitive domain)
5 ขั้นตอน
ขั้นการรับรู้ ซึ่งก็หมายถึง การที่ผู้เรียนได้รับรู้ค่านิยมที่ต้องการจะปลูกฝังในตัวผู้เรียน
ขั้นการตอบสนอง ได้แก่การที่ผู้เรียนได้รับรู้และเกิดความสนใจในค่านิยมนั้น แล้วมี โอกาสได้ตอบสนองในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง
ขั้นการเห็นคุณค่า เป็นขั้นที่ผู้เรียนได้รับประสบการณ์เกี่ยวกับค่านิยมนั้น แล้วเกิดเห็น คุณค่าของค่านิยมนั้นทำให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อค่านิยมนั้น
ขั้นการจัดระบบ เป็นขั้นที่ผู้เรียนรับค่านิยมที่ตนเห็นคุณค่านั้นเข้ามาอยู่ในระบบค่านิยม ของตน
ขั้นการสร้างลักษณะนิสัย เป็นขั้นที่ผู้เรียนปฏิบัติตนตามค่านิยมที่รับมาอย่างสม่ำเสมอ และทำจนกระทั่งเป็นนิ
จุดประสงค์
เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาความรู้สึก/เจตคติ/ค่านิยม/คุณธรรมหรือจริยธรรมที่พึงประสงค์ อันจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้เป็นไปตามความต้องการ
ผลที่ผู้เรียนได้รับ
การปลูกฝังค่านิยมที่พึงประสงค์จนถึงระดับที่สามารถปฏิบัติได้จนเป็นนิสัย
การพัฒนา
ด้านจิตพิสัย (Affective Domain)บนฐานทรัพยากรทางการศึกษา
วัสดุสิ่งของ (Materials) อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำจิตอาสา ทำสาธารณะประโยชน์
วิธีการ (Method) เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาความรู้สึก/เจตคติ/ค่านิยม/คุณธรรมหรือจริยธรรมที่พึงประสงค์
น (Money) งบประมาณในการจัดโครงการคุณธรรม จริยธรรม จิตอาสา
ตลาด (Market) ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีค่านิยม 12 ประการ
คน (Man) หมายถึง ผู้สอนจัดประสบการณ์หรือสถานการณ์ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้รับรู้ค่านิยม
เครื่องจักร (Machine) คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์อินเตอร์เน็ต
การจัดการ (Management) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน
เวลา (Minute) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ ต้องใช้เวลาในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมค่อนข้างนาน และดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
การเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาด้านพุทธิพิสัย
ความหมาย
เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาสาระต่าง ๆ ซึ่งเนื้อหาสาระนั้นอาจอยู่ในรูปของข้อมูล ข้อเท็จจริง มโนทัศน์ หรือความคิด รวบยอด
5 รูปแบบ
รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยการนำเสนอมโนทัศน์กว้างล่วงหน้า
รูปแบบการจัดการเรียนรู้มโนทัศน์
รูปแบบการจัดการเรียนรู้เน้นความจำ
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของกานเย
รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผังกราฟิก
ตัวอย่าง
จัดการเรียนรู้มโนทัศน์ (Concept Attainment Model)
การค้นหาคุณสมบัติเฉพาะที่สำคัญของสิ่งนั้น เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการจำแนกสิ่งที่ใช่และไม่ใช่ สิ่งนั้นออกจากกันได้จอยส์และวีล (Joyce & Weil, 1996: 161-178)
เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้มโนทัศน์ของเนื้อหาสาระต่าง ๆ อย่างเข้าใจ และสามารถให้ คำนิยามของมโนทัศน์นั้นด้วยตนเอง
กระบวนการ 6ขั้นตอน
ผู้สอนเสนอข้อมูลตัวอย่างของมโนทัศน์ที่ต้องการสอน และข้อมูลที่ไม่ใช่ตัวอย่างของมโนทัศน์ที่ต้องการสอน
ผู้เรียนบอกคุณสมบัติเฉพาะของสิ่งที่ต้องการสอน
ผู้สอนอธิบายกติกาในการเรียนให้ผู้เรียนรู้และเข้าใจตรงกัน
ให้ผู้เรียนสรุปและให้คำจำกัดความของสิ่งที่ต้องการสอน
ผู้สอนเตรียมข้อมูลสำหรับให้ผู้เรียนฝึกหัดจำแนก
ผู้สอนและผู้เรียนอภิปรายร่วมกันถึงวิธีการที่ผู้เรียนใช้ในการหาคำตอบ
ผลที่ผู้เรียนจะได้รับ
ดความเข้าใจในมโนทัศน์นั้น และได้เรียนรู้ทักษะการสร้างมโนทัศน์ซึ่งสามารถ นำไปใช้ในการทำความเข้าใจมโนทัศน์อื่น ๆต่อไปได้ รวมทั้งช่วยพัฒนาทักษะการใช้เหตุผลโดยการอุปนัย
การพัฒนาด้านพุทธิพิสัย (cognitive domain)
บนฐานทรัพยากรทางการศึกษา
วัสดุสิ่งของ (Materials) สื่อการจัดการเรียนรู้ เช่น หนังสือ กระดาษ แผนที่ ลูกโลก วงเวียน
วิธีการ (Method) ผู้สอนจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้มโนทัศน์ของเนื้อหาสาระต่าง ๆ จดจำ อย่างเข้าใจ และสามารถให้ คำนิยามของมโนทัศน์นั้นด้วยตนเอง
เงิน (Money) เงินสนับสนุนจากงานวิชาการ
ตลาด (Market) ความสามารถในการสื่อสาร ผู้สอนและผู้เรียนอภิปรายร่วมกันถึงวิธีการที่ผู้เรียนใช้ในการหาคำตอบ
คน (Man) 1. ผู้สอนมีหน้าที่จัดเตรียมการจัดการเรียนรู้ช่วยให้ผู้เรียนประสบความสำเร็จในการเรียน 2. นักเรียนผู้เรียนจะมีความเข้าใจในเนื้อหาสาระที่เรียนและจดจำสิ่งที่เรียนรู้ได้ดี
เครื่องจักร (Machine) ทีวี, Smart tv , คอมพิวเตอร์
การจัดการ (Management) ควบคุมการจัดการเรียนรู้โดยครูผู้สอนทุกขั้นตอน
เวลา (Minute) วางแผนกำหนดระยะเวลาให้เกิดประสิทธิภาพ
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาด้านทักษะพิสัย
(Psycho-Motor Domain)
ความหมาย
เป็นรูปแบบที่มุ่งช่วยพัฒนาความสามารถของผู้เรียนใน ด้านการปฏิบัติ การกระทำ
3 รูปแบบ
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์(Harrow)
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติของเดวีส์ (Davies)
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการพัฒนาทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซัน (Simpson)
ตัวอย่างการพัฒนาทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซัน
หลักการ/แนวคิด
เป็นความสามารถในการประสานการทำงานของกล้ามเนื้อหรือร่างกาย ในการทำงานที่มีความซับซ้อน
วัตถุประสงค์
เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถปฏิบัติหรือทำงานที่ต้องอาศัยการเคลื่อนไหวหรือการประสานงานของกล้ามเนื้อทั้งหลายได้อย่างดี
มีความถูกต้องและมีความชำนาญ
กระบวนการ
ขั้นการให้ลงมือกระทำจนกลายเป็นกลไกที่สามารถกระทำได้เอง
ขั้นการกระทำอย่างชำนาญ
ขั้นการสนองตอบภายใต้การควบคุม
ขั้นการปรับปรุงและประยุกต์ใช้
ขั้นการคิดริเริ่ม
ขั้นการรับรู้
ขั้นการเตรียมความพร้อม
ผลที่ผู้เรียนจะได้รับ
ผู้เรียนจะสามารถกระทำหรือแสดงออกอย่างคล่องแคล่วชำนาญ ในสิ่งที่ต้องการให้ผู้เรียนทำได้ นอกจากนั้นยังช่วยพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ และความอดทนให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียนด้วย
การพัฒนาด้านทักษะพิสัยบนฐานทรัพยากรทางการศึกษา
เงิน (Money) การใช้จ่ายในการจัดซื้ออุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้แบบฝึกปฏิบัติ
วัสดุสิ่งของ (Materials) อุปกรณ์ที่ใช้ในทักษะการปฏิบัติ เช่น ลูกบอล เครื่องดนตรี วัสดุงานช่าง เครื่องมืองานเกษตร เครื่องมืองานศิลปะ คหกรรม
คน (Man) บทบาทหน้าที่ของผู้สอน วิเคราะห์ทักษะที่จะสอน ประเมินความสามารถของผู้เรียน จัดการเรียนรู้แบบฝึกทักษะปฏิบัติ
วิธีการ (Method) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยการฝึกทักษะปฏิบัติ ให้ผู้เรียนเผชิญสถานการณ์จำลอง หรือ สถานการณ์จริง
ตลาด (Market) การฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้ และการประยุกต์ความรู้มา ใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา
เครื่องจักร (Machine) อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในการฝึกทักษะปฏิบัติ เช่น กล้องดูดาว กล้องจุลทรรศน์
การจัดการ (Management) การวางแผนการการจัดการเรียนโดยการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
เวลา (Minute) ระยะเวลาที่ผู้สอนฝึกทักษะปฏิบัติ
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาทักษะกระบวนการ
(Process Skill)
ความหมาย
เป็นทักษะที่เกี่ยวข้องกับวิธีดำเนินการต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็นกระบวนการทางสติปัญญา
4 รูปแบบ
รูปแบบการจัดการเรียนรู้กระบวนการคิดอุปนัย
รูปแบบการจัดการเรียนรู้กระบวนการคิดสร้างสรรค์
รูปแบบการจัดการเรียนรู้กระบวนการสืบสอบและแสวงหาความรู้เป็นกลุ่ม
รูปแบบการจัดการเรียนรู้กระบวนการคิดแก้ปัญหาอนาคตตามแนวคิดของทอร์ แรน
ตัวอย่างรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาทักษะกระบวนการ (Process Skill)
วัตถุประสงค์
มุ่งพัฒนาทักษะในการสืบสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ความเข้าใจ โดยอาศัยกลุ่ม
กระบวนการจัดการเรียนรู้
ให้ผู้เรียนเผชิญปัญหาหรือสถานการณ์ที่ชวนให้งุนงงสงสัย
ให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาหรือสถานการณ์นั้น
ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผนในการแสวงหาความรู้
ให้ผู้เรียนดำเนินการแสวงหาความรู้
ให้ผู้เรียนวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลข้อมูลนำเสนอและอภิปรายผล
ให้ผู้เรียนกำหนดประเด็นปัญหาที่ต้องการสืบเสาะหาคำตอบต่อไป
ผลที่ผู้เรียนจะได้รับ
สามารถสืบสอบและเสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง เกิดความใฝ่รู้และมีความมั่นใจในตนเองเพิ่มขึ้น และได้พัฒนาทักษะการสืบสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และ ทักษะการทำงานกลุ่ม
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาทักษะกระบวนการ (Process Skill)บนฐานทรัพยากรทางการศึกษา
เงิน (Money) ใช้ดำเนินกิจกรรม เช่น สื่อต่างๆ
คน (Man) ผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้ชี้แนะ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ผู้สอนช่วยอำนวยความสะดวก
วัสดุสิ่งของ (Materials) สื่อการจัดการเรียนรู้ เช่น กระดาษ ดินสอ
วิธีการ (Method) การกระตุ้นความสนใจและความต้องการในการสืบสอบและแสวงหาความรู้ต่อไปนั้น ควรเป็นปัญหาหรือสถานการณ์ที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถ และความสนใจของผู้เรียน
ตลาด (Market) ความสามารถในการคิด รู้จักคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดอย่างสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เครื่องจักร (Machine) คอมพิวเตอร์ ระบบอินเตอร์เน็ต
การจัดการ (Management) โดยกระบวนการคิดต่าง ๆ เช่น การคิด วิเคราะห์ การอุปนัย การนิรนัย การใช้เหตุผล การสืบสอบ
เวลา (Minute) ระยะเวลาที่ผู้สอนฝึกทักษะปฏิบัติ
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการบูรณาการ (Integration)
ความหมาย
เป็นรูปแบบที่พยายามพัฒนาการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ ของผู้เรียนไปพร้อม ๆ กัน โดยใช้การบูรณาการทั้งทางด้านเนื้อหาสาระและวิธีการ รูปแบบในลักษณะ
4 รูปแบบ
รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยการสร้างเรื่อง
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามวัฏจักรการเรียนรู้ 4 MAT
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ของการเรียนรู้แบบร่วมมือ
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ทางตรง
ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ของการเรียนรู้แบบร่วมมือ
(Instructional Models of Cooperative Learning)
หลักการ/แนวคิด
พัฒนาขึ้นโดยอาศัยหลักการเรียนรู้ แบบร่วมมือของจอห์นสัน และจอห์นสัน (Johnson & Johnson, 1974: 213-240)ซึ่งชี้ให้เห็นว่าผู้เรียนควรร่วมมือกันในการเรียนรู้มากกว่าการแข่งขันกัน เพราะการแข่งขันก่อให้เกิดสภาพการณ์แพ้-ชนะต่างจากการร่วมมือกันซึ่งก่อให้เกิดสภาพการณ์ชนะ-ชนะ
วัตถุประสงค์
มุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหาสาระต่าง ด้วยตนเองและด้วยความร่วมมือและความช่วยเหลือจากเพื่อน ๆ รวมทั้งได้พัฒนาทักษะสังคมต่าง ๆ
กระบวนการจัดการเรียนรู้รูปแบบจิ๊กซอร์ (Jigsaw)
สมาชิกในกลุ่มบ้านของเราได้รับมอบหมาย
สมาชิกในกลุ่มบ้านของเรา แยกย้ายไปรวมกับสมาชิกกลุ่มอื่น ซึ่งได้รับเนื้อหาเดียวกัน
จัดผู้เรียนเข้ากลุ่มคละความสามารถ
สมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลับไปสู่กลุ่มบ้านของเรา แต่ละคนช่วยสอนเพื่อนในกลุ่มให้ เข้าใจใ
ผู้เรียนทุกคนทำแบบทดสอบ แต่ละคนจะได้คะแนนเป็นรายบุคคล และนำคะแนนของ ทุกคนในกลุ่มบ้านของเรามารวมกัน(หรือหาค่าเฉลี่ย) เป็นคะแนนกลุ่ม กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุดได้รับ รางวัล
ผลที่ผู้เรียนจะได้รับ
จะเกิดการเรียนรู้เนื้อหาสาระด้วยตนเองและด้วยความร่วมมือและช่วยเหลือจาก เพื่อน ๆ รวมทั้งได้พัฒนาทักษะกระบวนการต่าง ๆ จำนวนมาก
การเรียนรู้ที่เน้นการบูรณาการ (Integration)บนฐานทรัพยากรทางการศึกษา
เงิน (Money) การใช้เงินในการจัดซื้อสื่อ รางวัล
วัสดุสิ่งของ (Materials) สื่อสิ่งพิมพ์ แบบฝึกหัด หนังสือ กระดาษ
คน (Man) ผู้เรียนและผู้สอนกำหนดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน ที่สามารถสนองวัตถุประสงค์ที่กำหนด
วิธีการ (Method) เน้นการนำความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนา กระบวนการผลิตใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต
ตลาด (Market) ผู้เรียนมีทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น การสื่อสาร การประสานสัมพันธ์
รื่องจักร (Machine) คอมพิวเตอร์ , ทีวี , Smart board
การจัดการ (Management) วิเคราะห์ความสามารถของผู้เรียนรายบุคคล เพื่อจัดผู้เรียนเข้ากลุ่มคละความสามารถได้
เวลา (Minute) การเรียนการสอนแบบนี้ อาจใช้เวลาเพียงไม่กี่คาบ หรือต่อเนื่องกันเป็นภาคเรียนก็ได้ แล้วแต่หัวเรื่องและการบูรณาการว่าสามารถทำ ได้ครอบคลุมเพียงใด แต่ไม่ควรใช้เวลาเกิน 1 ภาคเรียน เพราะผู้เรียนอาจเกิดความเบื่อหน่าย
นางสาวจุฬาลักษณ์ อักษร