Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 นโยบายและแผนพัฒนาสุขภาพ, นายสุริยา กงใจเด็ด เลขที่ 126…
บทที่ 3 นโยบายและแผนพัฒนาสุขภาพ
นโยบายสาธารณะ (Public heath policy)
นโยบาย
แนวทางที่มีลักษณะเป็นคำพูด ลายลักศณ์อักษรหรือเป็นนัยที่กำหนดไว้เพื่อบ่งชี้ทิศทางและเงื่อนไขหรือข้อกำหนดของการกระทำด้านการบริหารจัดการที่จะช่วยนำไปสู่การบรรลุผลตามที่ต้องการ
สาธารณะ
ประเด็น กิจการ หรือ กิจกรรมเกี่ยวข้องกับการดำรงอยู่ร่วมกัน และมีความเกี่ยวพันกับคนจำนวนมากหรือมหาชน
นโยบายสาธารณะ
ทิศทางหรือแนวทางที่สังคมโดยรวมเห็นว่าหรือเชื่อว่าควรจะดำเนินการไปในทิศทางนั้น
กระบวนการนโยบายสาธารณะที่ดี
เป็นกระบวนการทางสังคม
เป็นกระบวนการทางศีลธรรม
เป็นกระบวนการทางปัญญา
ความสำคัญของนโยบายสาธารณะ
บุคคลที่มีความรู้ความเข้าใจและมีโอกาสเข้าถึงกระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณณะได้มากกว่าก็จะได้เปรียบและหาประโยชน์ได้มากกว่า
นโยบายสาธารณะยังมีความสำคัญต่อประเทศชาติและสังคมโดยส่วนรวมกำหนดผลประโยชน์ของประเทศและกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ
องค์ประกอบของนโยบายสาธารณะ
ต้องมีการดำเนินการตามที่ได้ตัดสินใจเลือกไว้แล้ว
ต้องกำหนดการกระทำต่างๆ ให้สอดคล้องกับเวลา สถานที่เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
ต้องมีลำดับขั้นตอนของพฤติกรรมต่างๆ ที่จะทำให้บรรลุวัตถุประสงค์
ต้องมีประกาศให้ประชาชนรับรู้โดยทั่วกัน (แถลงข่าวต่อสภา ประกาศผ่านสื่อมวลชน)
ต้องมีวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้แน่นอน
ลักษณะของนโยบายสาธารณะ
นโยบายมีลักษณะแนบแน่น (มุ่งความสอดคล้องกันระหว่างนโยบายต่างๆ)
นโยบายมีภาวะเอกรูป (จะต้องมีแบบแผนเป็นแนวทางเดียวกัน)
นโยบายมีลักษณะส่งเสริมเสถียรภาพ
นโยบายมีภาวะต่อเนื่อง (ทำต่อเนื่อง)
นโยบายมีลักษณะเป็นหลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติที่จะนำไปสู่เป้าหมายอย่างชัดเจน
จุดอ่อนของนโยบายสาธารณะในสังคมไทย
ให้ความสำคัญของคุณค่าและมิติต่างๆ อย่างไม่สมดุล
การสร้างนโยบายสาธารณะ ขาดข้อมูลหลักฐานทางวิชาการที่มีน้ำหนักเพียงพอ
ประชาชนเข้าไม่ถึงกระบวนการนโยบายสาธารณะ
ขาดกระบวนการประเมินผลกระทบและการกำหนดทางเลือกที่หลากหลาย
ขาดระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลนโยบายสาธารณะต่างๆ ที่เกิดขึ้นและได้ลงมือดำเนินการ
เงื่อนไขสำคัญที่ทุกๆ นโยบายสาธารณะต้องมีอยู่เสมอ คือ
นโยบายสาธารณะจะต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจน (สอดคล้องหรือสนองความต้องการของประชาชนเป็นส่วนรวม)
ต้องเป็นสิ่งที่อยู่ในวิสัยที่น่าจะเป็นไปได้เมื่อนำไปปฏิบัติไม่ใช่เพ้อฝัน
แนวทางเลือกในการตัดสินใจเพื่อการกระทำเรื่องดูเว้นไม่กระทำ
ต้องมีลักษณะเป็นแนวทางหรือหลักการที่จะทำให้เป้าหมายที่กำหนดไว้สามารถบรรลุสำเร็จ(มีผลเป็นการทั่วไปไม่เฉพาะกรณีหรือเฉพาะบุคคล)
นโยบายสาธารณะของรัฐบาล
5 การยกระดับคุณภาพบริการด้านสาธารณะสุขและสุขภาพของประชาชน
4 การศึกษาและเรียนรู้การทำนุบำรุงศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม
3 การลดความเหลื่อมล้ำของสังคมและการสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ
2 การรักษาความมั่นคงของประเทศ
10 การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นั่คนที่มีธรรมริบาลและการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมีชอบในภาครัฐ
9 การรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากร และการสร้างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์กับการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน
8 การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี การวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม
7 การส่งเสริมบทบาทและใช้โอกาสในประชาคมอาเชียน
6 การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ
1 การปกป้องเชิดซูสถาบันพระมหากษัตริย์
11.การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนยุติธรรม
ความหมายของ "สุขภาพ" ตาม พรบ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550
"สุขภาพ" หมายถึง ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคม เชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุล
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๐
ให้ความหมาย "สุขภาพ"อย่างกว้าง และกำหนดสิทธิหน้าที่ด้านสุขภาพเพิ่มเติม
มีคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (คสช.)
มีสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)
มีสมัชชาสุขภาพ เพื่อเป็นกระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม
สาระสำคัญในธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 12 ระบบ
(4) การสร้างเสริมสุขภาพ
(5) การป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยที่คุกคามสุขภาพ
(3) การจัดให้มีหลักประกันและความคุ้มครองให้เกิดสุขภาพสุขภาพ การแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือกอื่น ๆ
(6) การบริการสาธารณสุขและการควบคุมคุณภาพ
(2) คุณลักษณะที่พึงประสงค์และเป้าหมายของระบบสุขภาพ
(7) การส่งเสริม สนับสนุน การใช้และการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน
(1 ) ปรัชญาและแนวคิดหลักของระบบสุขภาพ
(8) การคุ้มครองผู้บริโภค
(9) การสร้างและเผยแพร่องค์ความรู้ด้านสุขภาพ
(10) การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ
(1 1 ) การผลิตและการพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุข
(12) การเงินการคลังด้านสุขภาพ
ระบบสุขภาพปฐมภูมิ" เกิดจาก 3 ส่วนคือ
เกิดจากปัญหาอุปสรรคในบริบทระบบสุขกพปัจจุบันของไทย
หน่วยบริการ เช่น โรงพยาบาลขนาดใหญ่มีภาระงานมากไม่สามารถดูแล้แบบองค์รวมและต่อเนื่องได้
คำใช้จ่ายการดูแลสุขภาพของภาครัฐที่เพิ่มสูงขึ้น (Budjets)
แนวคิดสำคัญในการจัดบริการสุขภาพ ระดับปฐมภูมิ
-การเชื่อมโยงประสาน (Coordination)
-การให้บริการแบบเบ็ดเสร็จ (Com prehensive)
-การให้บริการอย่างต่อเนื่อง (Continuity)
-การมีส่วนร่วมของชุมชน (Com munity Participation)
-การเข้าถึงบริการ (Accessibility)
ระดับการบริการ
ระดับทุติยภูมิ
ทุติยภูมิระดับกลาง(ระดับ2.2)ให้บริการรักษาโรคโดยเฉพาะสาขาหลัก(Major)
ทุติยภูมิระดับสูง(ระดับ2.3)ให้บริการรักษาโรคโดยแพทย์เฉพาะสาขารอง(Minor)
ทุติยภูมิระดับต้น(ระดับ2.1)บริการักษาโรคทั่วไปถึงระดับผู้ป่วยใน(โดยแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป/เวชปฏิบัติครอบครัว
ระดับตติยภูมิ
ตติยภูมิ(ระดับ3.1)บริการรักษาโรคโดยเฉพาะแพทย์เฉพาะทางทางสาขาต่อยอด(Sub-specialty)
ระดับบริการ(Excellence center)บริการรักษาโรค โดยแพทย์สาขาต่อยอด 4 ศูนย์หลักๆดังนี้ ศูนย์โรคหัวใจ ศูนย์มะเร็ง ศูนย์อุบัติเหตุ และศุนย์ปลูกถ่ายอวัยวะ
ระดับปฐมภูมิ
ปฐมภูมิระดับต้น(ระดับ1.0) บริการส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู รักษาโรคเบื้องต้น(โดยบุคลากรที่ไม่ไช่แพทย์
ปฐมภูมิหลัก(ระดับ1.1)บริการส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู รักษาโรคเบื้องต้น(แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป/เวชปฏิบัติครอบครัว ทันตแพทย์ เภสัชกร มีศูนย์สุขภาพชุมชน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564
5.ยุทธศาสตร์ที่ 5 เสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติ เพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่ง
6.ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐการป้องกันทางทุจริตประพฤติมิชอบ และธรรมภิบาลในสังคมไทย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
4.ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
7.ยุทอศาสตว์ที่ 7 พัฒนาโดวงสร้างพื้นฐ าน และวะบบโลจิสติกส์
3.ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
8.ยุทธศาสตร์ที่ 8 พัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี วิจัยและวัตกรรม
2.ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำ
9.ยุทธศาสตร์ที่ 9 พัฒนาภาคเมืองและพื้นที่เศรษกิจ
1.ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์
10.ยุทธศาสตร์ที่ 10 ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา
เป้าปดระสงค์
3.เพิ่มขีดความสามารถของระบบบริการสุขภาพทุกระดับให้ประชาชนเข้าถึงบริการได้อย่างสะดวก เหมาะสม
4.มีบุคลากรด้านสุขภาพที่ดูแลประชาชนในสัดส่วนที่เหมาะสม
2.คนไทยทุกกลุ่มวัยมีสุขภาวะที่ดีลดการตายก่อนวัยอันควร
5.มีกลไกการอภิบาลระบบสุขภาพแห่งชาติที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
1.ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่นและภาคีเครือข่ายมีความรู้ด้านสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ส่งเสริมให้การเจ็บป่วยและตายจากโรคที่ป้องกันได้ลดลง
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและสร้างกลไกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ
บริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ (People Excellence)
วัตถุประสงค์
2) เพื่อบูรณาการระบบการผลิตกำลังคนด้านสุขภาพของประเทศ
3) เพื่อสร้างกลไกและระบบการบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
1) เพื่อวางแผนกำลังคน
3) เพื่อสร้างกลไกและระบบการบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
ตัวขี้วัด
2) สัดส่วนกำลังคนด้านสุขภาพระหว่างเขตเมืองและชนบท
3) ขีดความสามารถของบุคลากรด้านสุขภาพ
1) อัตราส่วนกำลังคนด้านสุขภาพต่อประชากร
4) ระดับความสุขในการปฏิบัติงานของบุคลากรด้านสุขภาพ
มาตรการ/ แนวทางการพัฒนา
1) พัฒนาระบบและกลไกการขับเคลื่อนการบริหารจัดการและการบูรณาการ
2) เร่งผลิตและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ
3) สร้างกสไกการสื่อสารและภาคีเครือข่ายกำลังคนด้านสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 4: พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งในการ
อภิบาลระบบสุขภาพ (Governance Excellence)
วัตถุประสงค์
2) เพื่อพัฒนาระบบสนับสนุนการบริการสุขภาพ
1) เพื่ออภิบาลระบบสุขภาพอย่างมีธรรมาภิบาล เป็นเอกภาพ
ตัวชี้วัด
2) ระดับธรรมาภิบาลของหน่วยงานด้านสุขภาพ
3) ระดับการใช้ประโยชน์ใด้ทั้งการบริหารจัดการและบริการประชาชนของระบบข้อมูลสุขภาพ
1) ความเป็นเอกภาพของการอภิบาลระบบ
4) ผลลัพธ์ของระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (S A F E: มีความยั่งยืน (Sustainability) มีความเพียงพอ(Adequacy) มีความเป็นธรรม (Fairness) และ มีประสิทธิภาพ (Efficiency))
6) สัคส่วนการนำเข้ายาและเทคโนโลยีด้านสุขภาพ
5) จำนวนผลงานวิจัย/ นวัดกรรม ด้านสุขภาพที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
มาตรการ/ แนวทางการพัฒนา
3) เสริมสร้างกสไกและกระบนการในการบริหารจัดการข้อมูล
4) ปรับปรุงและพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
2) พัฒนาระบบยา เวชภัณฑ์และเทคโนโลยีทางการแพทย์ของประเทศ
5) สร้างและพัฒนากไกการดูแลด้านการเงินการคลังสุขภาพของประเทศ ให้มี S A F E
1 สร้างระบบธรรมาภิบาลและการจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์ที่ 1 เร่งการเสริมสร้างสุขภาพคนไทยเชิงรุก
วัตถุประสงค์
2.เพื่อสร้างระบบสุขภาพเชิงรุก ให้คนไทยทุกช่วงวัยมีสุขภาพดี
3.เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
1.เพื่อสร้างความเข้มแข็งของบุคคล ชุมชน ภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพให้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ
ตัวขี้วัด
1) ระดับพัฒนาการเด็กไทย
3) อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน
4) อัตราตายก่อนวัยอันควรจากโรคNCD
5) ADL
2) ระดับ IQ EQ ของเด็กไทย
6) อัตราการเจ็บป่วยจากผลิตภัณฑ์สุขภาพและสิ่งแวดล้อม
7) ความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย
8) พฤติกรรมสุขภาพของคนไทย
มาตรการ/แนวทางการพัฒนา
2) พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบายและกฎหมายด้านสุขภาพตามหลัก Health in All policy
3) สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
1) เสริมสร้างภาคีเครือข่ายและพันธมิตร
4) พัฒนาระบบเพื่อจัดการกับปัจจัยกำหนดด้านสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 2: สร้างความเป็นธรรม ลดความเหสื่อมล้ำในระบบ
บริการสุขภาพ (Service Excellence)
วัตถุประสงค์
เพื่อสร้างและพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิที่มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวประจำให้ครบทุกแห่ง
2.เพื่อยกระดับขีดความสามารถของหน่วยบริการทุกระดับ
3.เพื่อสร้างความเข้มแข็งและความสามารถในการแข่งขันให้กับระบบสุขภาพ
เพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการได้รับบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุข
ตัวขี้วัด
1) ความครอบคลุมของหน่วยบริการปฐมภูมิ (PCC) ที่มีทีมแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว
2) จำนวนศูนย์แพทย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางในเขตสุขภาพ
3.อัตราส่วนเตียง (ในระบบประกันสุขภาพภาครัฐต่อประชากรภาพรวมทั้งประเทศและการกระจาย
4.ระยะเวลารอคอยในการรับการรักษาพยาบาล
5) อัตราการส่งต่อออกนอกเขตสุขภาพ
มาตรการ/ แนวทางการพัฒนา
3) พัฒนาความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายและพันธมิตร
4) สร้างระบบควบคุมคุณภาพและระบบบริหารความเสี่ยงของการดูแลสุขภาพ (Patient Safety)
2) เพิ่มขีดความสามารถของหน่วยบริการทุกระดับ
5) พัฒนาระบบการประเมินเพื่อการตัดสินใจในการใช้เทคโนโลยีด้านสุขภาพ (HTA
1) จัดกลุ่มหน่วยบริการปฐมภูมิ (Primary Care Cluster)
5) พัฒนาระบบการประเมินเพื่อการตัดสินใจในการใช้เทคโนโลยีด้านสุขภาพ (HTA
นายสุริยา กงใจเด็ด เลขที่ 126 61101301131