Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 แนวคิด ทฤษฎี และหลักการการพัฒนาอนามัยชุมชน, นายสุริยา กงใจเด็ด…
บทที่ 1 แนวคิด ทฤษฎี และหลักการการพัฒนาอนามัยชุมชน
แนวคิด การพัฒนาอนามัยชุมชน
Paradigm (กระบวนทัศน์/แนวคิด)
ประชากรและชุมชนที่เป็นอยู่จริงในสภาพปัจจุบันมีความแตกต่างกันมาก
บางชุมชนมีกินมีใช้อย่างเหลือเฟือ
บางชุมชนถ้าได้รับการพัฒนาจะพึ่งพาตนเองได้
บางชุมชนไม่สามารถช่วยตนเองได้เลย
แนวคิดพื้นฐานการพัฒนา
แนวคิดพื้นฐานการพัฒนา
ปรัชญาความเชื่อต่อสังคม
มนุษย์เป็นทรัพยากรที่มีความสามารถและมีพลังอันซ่อนเร้น (Potential Ability) แฝงอยู่ (ความคิดแรงงานทักษะ หากนำไปใช้อย่างถูกต้องจะเป็นประโยชน์และสร้างความสำเร็จได้
มนุษย์ทุกคนจะต้องมีศรัทธาต่อความยุติธรรมของสังคม (Social Justice) เพื่อลดความเหลื่อมล้ำของชุมชน
ความไม่รู้ ความดื้อดึง และการใช้กำลังบังคับ จะเป็นอุปสรรคที่สำคัญต่อความสำเร็จ
ปรัชญาความเชื่อการพัฒนา
1.มนุษย์ทุกคนมีคุณค่าและศักดิศรuความเป็นคนเท่ากัน
มนุษย์มีความเข้าใจว่า แต่ละบุคคลมีลักษณะแตกต่างกัน ย่อมมีสิทธิและสามารถที่จะเลือกวิถีการดำรงชีพในแนวทางที่คนต้องการ
มนุษย์แต่ละคนหากมีโอกาสย่อมมีความสามารถที่จะเรียน รู้ เปลี่ยนแปองทัศนคติ การประพฤติปฏิบัติ การพัฒนาขีดความสามารถตนเอง และยกระดับความรับผิดชอบต่อสังคมให้สูงขึ้นได้ ถ้าได้รับการพัฒนา
ประชาชนและชุมชนต้องการหลุดพ้นจากสภาพยากจน ความไม่รู้และโรคภัยไข้เจ็บ
Peter DuSautoy(U.S.A)
ช่วยให้ประชาชนรู้จักช่วยตนเอง(Self-help)
2.ต้องเป็นความต้องการของชุมชน (Felt-need)
การพัฒนาในทุกด้าน (Holistic) มิใช่มุ่งการพัฒนาพียงเรื่องหนึ่งเรื่องใดเป็นการเฉพาะ เช่น การพัฒนาการเกษตร การจัดตั้งกองทุนชุมชน
Arthur Durham (U.S.A.)
1) จะต้องช่วยให้ประชาชนรู้จักช่วยตนเอง (Self-help)
2) จะต้องเกิดจากความรู้สึกต้องการประชาชนเอง (felt-need)
3.การพัฒนาอาจขอรับความช่วยเหลือจากภายนอกเข้าสู่ชุมชนได้กรณีที่ชุมชนมีปัจจัยอย่างจำกัด
การให้ความสนับสนุนของผู้เชี่ยวชาญต้องประสานงานสาขา ประสบการณ์ ความร่วมมือและความคิดเข้าด้วยกันเพื่อมุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน
Carl C. Taylor (U.S.A.)
เจ้าหน้าที่ต้องมีเทคนิคหรือวิธีการจูงใจ หรือส่งเสริมให้ประชาชนมีความคิดริเริ่มและรู้จักใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์
เจ้าหน้าที่ต้องคิดอยู่เสมอว่าตนมิใช่ผู้เชี่ยวชาญในสาขาหนึ่งสาขาใด แต่เป็นผู้ที่มีความสามารถในการติดต่อประสานงาน เป็นคนกลางจำแนก/สนับสนุน ปัญหาต่างๆ ของประชาชน
จะต้องสร้างความเชื่อมั่นว่าจะสามารถเปลี่ยนแปลงชุมชนของตนเองให้ดีขึ้นกว่าเดิมได้
รัฐบาลต้องเป็นผู้รับผิดชอบจัดตังองค์การ/หน่วยงานในระดับต่างๆ ที่มีขีดความสามารถเพียงพอกับความต้องการประชาชน
รัฐบาลจะต้องปรับปรุงระบบการสื่อการนำข่าวสู่ชุมชนที่มีประสิทธิภาพ
การพัฒนากิจกรรมต่างๆ ในชุมชนควรจะกระทำร่วมกันในระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและดำเนินงานในแหล่งที่ประชาชนต้องการบนพื้นฐานที่เป็นความต้องการประชาชน
การพัฒนา
ความหมายของการพัฒนา
เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงทีมีมิติครอบคลุมด้านต่าง ๆ ของสังคม
เป้าหมายการพัฒนา
มีอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจสังคม การเมืองกับชุมชนภายนอก
การเพิ่มระดับความเป็นประชาธิปไตยลดอำนาจการควบคุมจาก ศูนย์กลางและเพิ่มอำนาจการปกครองตนเองให้แก่ท้องถิ่น
ควบคุมทรัพยากรธรรมชาติและสิÉงแวดล้อม
ส่งเสริมให้ชาวบ้านสามารถพึ่งตนเองได้
หลักการพัฒนาชุมชน
ต้องพัฒนาชุมชนทุกๆ ด้านไปพร้อมกัน: ด้านวัตถุและจิตใจ
2.ยึดประชาชนเป็นหลักในการพัฒนา ต้องคำนึงถึงปัญหาและความต้องการของประชาชนเป็นสำคัญ
การดำเนินงานต้องค่อยเป็นค่อยไป ไม่ควรเร่งรีบเกินไปจนประชาชนไม่รู้ว่าอะไรเป็นอะไรหรือวัฒนธรรมควรหลีกเลี่ยง
คำนึงถึงวัฒนธรรมของชุมชนเป็นหลัก สิ่งใดที่เป็นการขัดต่อขนบธรรมเนียมประเพณี
5.ใช้ทรัพยากรในชุมชนมาดัดแปลงใช้ให้เกิดประโยชน์ให้มากที่สุด โดยชี้นำ สอนแนะให้คนในชุมชนเห็นคุณค่าของสิ่งที่มีอยู่ในชุมชน และนำเอาสิ่งเหล่านั้นมาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือแปรรูป ทรัพยากร
6.ยึดหลักประชาธิปไตยในการดำเนินงาน:ประชุมร่วมกัน มอบหมายงานให้รับผิดชอบร่วมกัน
ใช้หลักการประสานงาน
8.เริ่มต้นทำงานกับกลุ่มผู้นำก่อน เพราะถ้าผู้นำเห็นชอบด้วย ปัญหาการขัดแย้งและการให้ความร่วมมือก็จะน้อยลงหรือหมดไป
การดำเนินงานต้องสอดคลองกับนโยบายของชาติ (แผนพัฒนาระดับตำบลอำเภอ จังหวัด และสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ)
ปลูกฝังความเชื่อมั่นในตนเองให้กับประชาชน เพราะเป็นพลังสำคัญที่จะช่วยให้การทำงานสำเร็จลงได้หลักในการดำเนินงานพัฒนาชุมชน
ดำเนินงานพัฒนาชุมชน
1.ยึดหอักความมีศักดิ์ศรีและศักยภาพของประชาชน: ต้องเชื่อมั่นว่าประชาชนมีศักยภาพ มีความรู้ความถามารถที่ จะปรับปรุงพัฒนาคนเองได้ จึงต้องให้โอกาสในการคิด วางแผนเพื่อแก้ปัญหาชุมชนด้วยตัวของเขาเอง เจ้าหน้าที่เป็นเพียงผู้กระตุ้น แนะนำ ส่งเสริม และเปิดโอกางให้ประชาชนได้ใช้ศักยภาพที่มีอยู่ให้มากที่สุด
ยึดหลักการพึ่งคนเองของประชาชน: เราต้องสนับสนุนให้ประชาชนพึ่งตนเองได้ โดยอาศัยการช่วยเหลือของตนเอง ของคนในชุมชน หรือหมู่ข้านเป็นหลัก ส่วนเจ้าหน้าที่คอยช่วยเหลือสนับสนุน และช่วยเหลือในส่วนที่เกินขีดความสามารถของประชาชนหลักในการดำเนินงานพัฒนาชุมชน
3.ยึดหลักการมีส่วนร่วมของประชาชน. เปิดโอกาลให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเกิดการตัดสินใจ วางแผนปฏิบัติตามแผนและติดตามประเมินผล
แนวทางการพัฒนาชุมชน (แผนพัฒนาฯฉบับที่ 8
การเตรียมความพร้อมของชุมชน
การเพิ่มศักยภาพขององค์กรชุมชน
การสนับสนุนเอกชนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาตามความพร้อม
ความถนัด และความสมัครใจในแต่ละองค์กรธุรกิจ
การสนับสนุนแหล่งเงินทุนสำหรับการพัฒนาชุมชน
การเพิ่มบทบาทของภาครัฐในการส่งเสริมความเข้มแข็งขององค์กรชุมชน
สนับสนุนกระบวนการเรียนรู้และขยายเครือข่ายการเรียนรู้ของประชาชนและชุมชน
ชุมชนคืออะไร
ชุมชน คือ หมู่ชน กลุ่มคนที่อยู่รวมกันเป็นสังคมขนาดเล็ก อาศัยอยู่ในอาณาบริเวณเดียวกันและมีผลประโยชน์'ร่วมกัน
ชุมชน หมายถึง การที่คนจำนวนหนึ่งมีวัตถุประสงค์ร่วมกัน มีการติดต่อสื่อสารหรือรวมกลุ่มกัน มีความเอื้ออาทรต่อกัน มีการเรียนรู้ร่วมกันในการกระทำ มีการจัดการเพื่อให้เกิดความสำเร็จตามวัตถุประสงค์
ความหมายการพัฒนาชุมชน
1.ขบวนการที่มุ่งส่งเสริมความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้นโดยความร่วมมืออย่าง จริงจังของประชาชน และควรเป็น ความคิดริเริ่มของประชาชนด้วยกัน
2.ขบวนการที่มุ่งส่งเสริมความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้น ทั้งนี้เน้นริเริ่มและการกระทำร่วมมือกันด้วยตนเอง
กระบวนการสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคมให้แก่ชุมชนเป็นส่วนรวม โดยชุมชนจะต้องเข้าร่วมอย่าง แข็งขัน และปอ่อยให้ชุมชนได้ใช้ความคิดริเริ่มตนเอง และอาจแสวงหาความร่วมมือหรือความสนับสนุน
จากภายนอก
โครงการที่มุ่งส่งเสริมความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้นโดยกระจายการขั้นพื้นฐานให้ทั่วถึงประชาชน
ลักษณะของชุมชนเข้มแข็ง โดยสรุป 4 ประการ คือ
3.เป็นชุมชนที่มีจิตวิญญาณ (Spirituality)
4.เป็นชุมชนที่มีสันติภาพ (Peaceful)
2.เป็นชุมชนที่มีการจัดการตนเอง(Community Management)
1.เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้(Learning Community
วิธีสนับสนุนการรวมกลุ่มของชุมชนในทุกรูปแบบ
ให้ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการรวมตัวกันของชุมชน: สิทธิ หน้าที่บทบาทขององค์กรชุมชน ทักษะการบริหารจัดการองค์กร ทักษะในการบริหารจัดการการเงินและสิ่งแวดล้อม
กระตุ้นให้เกิดการรวมตัวของชุมชนทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เช่น กลุ่ม ชมรม สหกรณ์ออมทรัพย์หรือองค์กรในรูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชนและชุมชนมีส่วนร่วมในการก่อตั้ง
วิธีการส่งเสริมการสร้างเครือข่ายชุมชน
สนับสนุนให้องค์กรชุมชนประสานเครือข่ายการพัฒนาเพื่อให้มีการประสานผลประโยชน์แลกเปลี่ยนความรู้และร่วมมือกันตลอดจนจัดการปัญหาของชุมชนร่วมกัน
สร้างกลไกลการประสานเครือข่ายการพัฒนาชุมชน ระหว่างประชาชน องค์กรชุมชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชนรวมทั้งสร้างเครือข่ายข้อมูลระหว่างองค์กรต่างๆ เพื่อให้ประชาชนได้รับข่าวสารอย่างทั่วถึงและเป็นจริง
เริ่มสร้างเครือข่ายการประสานงานขององค์กร
สนับสนุนให้องค์กรชุมชนใช้กลไกทางสังคมเป็นเครื่องมือในการพัฒนา และเสริมสร้างความสามัคคีภายในชุมชน โดยให้มีการทำกิจกรรมร่วมกัน
เศรษฐกิจธุรกิจเพราะครอบคลุมถึง 4 ด้าน
2.มิติด้านจิตใจเน้นที่จิตใจที่รู้จักพอ
3.มิติด้านสังคม มุ่งให้เกิดสังคมที่มีความสุขสงบ
1.มิติด้านเศรษฐกิจเป็นเศรษฐกิจแบบพออยู่พอกิน
4.มิติด้านวัฒนธรรมวิถีชีวิต (way of life)
หน้าที่ของพยาบาลอนามัยชุมชน
หน้าที่ด้านบริการพยาบาลอนามัยชุมชน ให้บริการชุมชนตามขอบเขตความรับผิดชอบ
ลักษณะบริการเป็นบริการครบถ้วน(comprehensive care) ผสมผสานและต่อเนื่อง(Integrative care ) ผสมผสานบริการ 4 ด้าน เน้นการส่งเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค
1.1บริการด้านการรักษา
1.3บริการด้านการส่งเสริมสุขภาพ
1.4บริการด้านการฟื้นฟูสุขภาพ
1.2บริการด้านการป้องกันโรคและปัญหาสุขภาพ
ด้านการบริหารจัดการ ได้แก่การประสานงาน การควบคุมกำกับ การนิเทศงาน การประเมินผล
งานการประถานงานที่ดีจะทำให้ใด้รับความร่วมมืออย่างดีจากผู้ร่วมงานและประชาชน
2.1 ผู้วางแผนงานได้สอดคล้องกับนโยบายของหน่วยงาน
2.2 จัดระบบงาน กำลังคน จัดทรัพยากรจังบประมาณ หาแหล่งประโยชน์ เตรียมให้พร้อม
สำหรับการปฏิบัติงานได้
2.3 ติดต่อประสานงานทั้งภายในและภายนอกองค์กรตรวจ ควบคุมงาน นิเทศ งาน ให้ได้ผลงานที่มีคุณภาพ เสร็จตามกำหนดเวลา
2.4 ประเมินผลงาน และแก้ไขข้อบกพร่อง ปรับเปลี่ยนแผนให้เหมาะสมกับการดำเนินงานขั้นต่อไป
ด้านวิชาการ
3.1 การวิจัย มีส่วนร่วมในการวิจัย หรือทำการวิจัยเพื่อให้ได้ความรู้ใหม่เพื่อพัฒนาการพยาบาล การบริการด้านสุขภาพ การสาธารณสุข ฯลฯ
3.2 การฝึกอบรมและเผยแพร่ความรู้แก่บุคคลากรสุขภาพ นักเรียน นักศึกษาอาสาสมัคร สาธารณสุขของชุมชนประชาชนทั่วไป กลุ่มผู้นำชุมชนหรือผู้ที่ประชาชนเชื่อถือมาปรึกษาเมื่อมีปัญหาสุขภาพ
บทบาทของพยาบาลอนามัยชุมชนกับการพัฒนาอนามัยชุมชน
5.เป็นผู้ให้คำปรึกษา (Counselor) กับผู้ที่มีปัญหากับทุกฝ่ายทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต รวมทั้งให้คำปรึกษาทางสุขภาพกับทีมสหสาขาวิชาชีพอื่นๆด้วยเช่น เจ้าพนักงานสาธารณสุข เป็นต้น
เป็นผู้วิจัย (Researcher) โดยทำวิจัยหรือร่วมวิจัย เพื่อปรับปรุงการพยาบาลอนามัยชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุดสำหรับประชาชนผู้รับบริการ
เป็นผู้บริหารจัดการ (Manager): การจัดวางกำลังคน จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์เวชภัณฑ์พร้อมพอเพียงในการดำเนินงาน การประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Chang agent): กระตุ้นหรือทำให้ชุมชนเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น
3.เป็นผู้พิทักษ์ผลประโยชน์ ( Advocator ) ทำให้ประชาชนได้มีความรู้เกี่ยวกับสิทธิต่างๆของดนเองในด้านสุขภาพตามหลักสิทธิผู้ป่วย
8.เป็นผู้นำ (Leader): ช่วยชี้แนะแนวทางให้ชุมชนในการตัดสินใจในโครงการต่างๆ ของชุมชนเพื่อส่งเสริมเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน ครอบครัวหรือบุคคล
เป็นผู้ให้ความรู้ค้านสุขภาพ ( Health educator โดยให้สุขศึกษาในรูปแบบต่างๆ ให้หมาะชมกับกลุ่มเป้าหมายมากที่สุด
ผู้ให้ความร่วมมือ (Collaborator) กับทุกฝ่ายที่จะช่วยกันพัฒนาชุมชน เช่น ทางการศึกษา ทางฝ่ายการเมือง การปกครอง เป็นต้น
เป็นผู้ให้บริการด้านสุขภาพ (Health care provider) แบบครบถ้วน ผสมผสาน โดยเนั้นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นสำคัญ
การพึ่งตนเอง
ความหมาย
คือ การมีเสรีภาพเต็มที่ในการทำกิจกรรมของตนเองโดยตนเองและ ชาวบ้าน สามารถกำหนดชะตากรรมของตนเองจากภายในชุมชนเอง มากกว่าที่พลังภายนอกจะเป็นตัวกำหนด
ระดับการพึ่งตนเอง
4.ระดับระหว่างประเทศ(สร้างสัมพันธ์ระหว่างประเทศและปรับให้ มีความร่วมมือทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี)
5.สมาชิกชุมชนเกิดการเรียนรู้ผ่านการเข้าร่วมในกระบวนการของชุมชน
3.ระดับประเทศ (สร้างสมดุลระหว่างเมืองกับชนบท
6.มีแผนของชุมชนที่ประกอบด้วยการพัฒนาทุกๆ ด้านของชุมชน ที่มุ่งการพึ่งตนเอง เอื้อประโยชน์ ต่อสมาชิกชุมชนทุกๆ คนและมุ่งหวังการพัฒนาการพัฒนาชุมชนที่ยั่งยืน
2.ระดับท้องถิ่น(ใช้วิธีให้ชาวบ้านมีส่วนร่วมและการกระจายอำนาจ)
7.การพึ่งความช่วยเหลือจากภายนอกเป็นการพึ่งเพื่อให้ชุมชนสามารถพงตนเองได้ในที่สุด ไม่ใช่การพึ่งพาตลอดไป
1.ระดับบุคคล(ใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นให้มีประสิทธิภาพ)
ขั้นตอนการสร้างเครือข่ายทางสังคม
ขั้นที่ 3 ขั้นดำเนินงาน: ศึกษาปัญหา กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์และแผนงานที่ชัดเจน
ชั้นที่ 1 ชั้นแสวงหา: การเชิญชวน ประชาสัมพันธ์และการสืบเสาะแสวงหา
ขั้นที่ 4 ขั้นการพัฒนาระบบเครือข่าย: สร้างความสามัคคี สร้างขวัญกำลังใจและเจตนารมณ์ร่วมกัน
ขั้นที่ 2 ขั้นยุทธศาสตร์การรณรงค์: การสร้างความตระหนักในประโยชน์และความสำคัญของเครือข่าย
ระดับการมีส่วนร่วม
ระดับร่วมรับรู้ หมายถึง การที่ผู้แสดงทางสังคม (Social Actor) ได้ร่วมรับรู้ข้อมูลข่าวสารจากเจ้าของโครงการหรือผู้หนดนโยบายและมีโอกาสเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์หรือมีผลกระทบต่อตนเองหรือชุมชน
ระดับร่วมคิด หมายถึง การร่วมค้นหาปัญหา วิเคราะห์ความจำเป็น พร้อมแสดงความคิดเห็นต่อหน่วยงานหรือองค์ที่เกี่ยวข้อง
ระดับร่วมพิจารณา คือการร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ตั้งแต่การคัดเลือกสถานที่ตั้งโครงการ มาตรการที่นำมาใช้เพื่อลดผลกระทบด้านต่างๆ
ระดับร่วมดำเนินการ หมายถึง ร่วมลงทุน ร่วมคัดเลือกผู้ปฏิบัติงานร่วม
ระดับร่วมติดตาม คือการตรวจสอบและประเมินผลว่านโยบายโครงการ หรือกิจกรรมต่างๆ เป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือไม่ อย่างไร
ระดับร่วมรับผล หมายถึง การร่วมรับผลประโยชน์และผลกระทบทั้งค้านบวกและลบ ทั้งต่อตนเองต่อชุมชนและต่อสังคม
นายสุริยา กงใจเด็ด เลขที่ 126 61101201131