Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การเรียนรู้กับการเรียนการสอน - Coggle Diagram
บทที่ 2 การเรียนรู้กับการเรียนการสอน
ความหมายและความสําคัญของการเรียนรู้
กระบวนการที่ทำให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด อันเนื่องมาจากการฝึก หรือประสบการณ์ โดยคนสามารถเรียนได้จากการได้ยิน การสัมผัส การอ่าน การใช้เทคโนโลยี
การเรียนรู้จะเกิดขึ้นจากประสบการณ์ที่ผู้สอน โดยการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผู้สอนจะเป็นผู้ที่สร้างบรรยากาศทางจิตวิทยาที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้
องค์ประกอบสําคัญในการเรียนรู้
Dollard and Miller
1. แรงขับ
เกิดเมื่ออินทรีย์ขาดสมดุล กระตุ้นเพื่อปรับให้สมดุลอย่างเดิม
1. แรงขับพื้นฐาน
เกิดเนื่องจากความต้องการที่จําเป็นสําหรับการดํารงชีวิต
2. แรงขับที่เกิดจากการเรียนรู้
เกิดขึ้นภายหลัง เป็นความต้องการทางสังคม
2. สิ่งเร้า
เป็นสิ่งที่จะกระตุ้นให้อินทรีย์แสดงกิจกรรมโต้ตอบออกมา
3.การตอบสนอง
เป็นพฤติกรรมที่อินทรีย์แสดงออกมาเมื่อมีสิ่งเร้าไปเร้า
4. การเสริมแรง
การทําให้สิ่งเร้าและการตอบสนองมีความสัมพันธ์กัน
Mouly G.J.
1. แรงจูงใจ
สภาพที่อินทรีย์เกิดความต้องการหรืออยู่ในภาวะขาดสมดุล ก็จะทำให้เกิดแรงขับ
2. เป้าหมาย
เป็นส่วนผลักดันให้บุคคลแสดงพฤติกรรมและนำไปสู่การเรียนรู้
3. ความพร้อม
ความพร้อมของอินทรีย์ทางร่างกาย จิตใจ ในการเรียนรู้
4. อุปสรรค
การเผชิญกับสิ่งขวางกั้น ทำให้ไม่บรรลุเป้าหมาย
5. การตอบสนอง
การแสดงพฤติกรรมตอบสนองต่อแรงจูงใจ เป้าหมาย
6. การเสริมแรง
เมื่อบุคคลมีพฤติกรรมตอบสนองแล้ว ได้รับผลยย้อนกลับในทางที่ดี
7. การสรุปความเหมือน
ผู้เรียนสามารถสรุปเกณฑ์หรือสถานการณ์ แล้วนำไปใช้
ทฤษฎีการเรียนรู้กับการเรียนการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวคิดเชื่อมโยง
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขการกระทำ
บุคคลจะทำพฤติกรรมซ้ำอีก การทำให้บุคคลมีพฤติกรรมเพิ่มมากขึ้นเรียก
การเสริมแรง
การทำให้บุคคลมีพฤติกรรมลดน้อยลง เรียก
การลงโทษ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
การเรียนรู้หรือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคล เกิดจากการสังเกตและเลียนแบบจากต้นแบบ สิ่งแวดล้อม เหตุการณ์และสถานการณ์ที่สนใจ
กระบวนการความสนใจ
บุคลลสนใจในตัวแบบและสถานการณ์
กระบวนการความจำ
การจดจำพฤติกรรมของตัวแบบได้ดี
กระบวนการการแสดงออก
การทำตามตัวต้นแบบ
กระบวนการเสริมแรง
เมื่อเสริมแรงต่อพฤติกรรมหนึ่งๆ จะทำให้บุคคลสนใจเพิ่มขึ้น
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
เมื่อมีสิ่งเร้าพฤติกรรมตอบสนองก็จะเกิดขึ้น ซึ่งจะสามารถสังเกตได้ เกี่ยวข้องกับอารมณ์ ความรู้สึก และกิริยาสะท้อนที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของนาฟลอฟและวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวคิดความรู ความเข้าใจ
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์
การรับรู้
เป็นการแปรความจากการสัมผัสด้วยอวัยวะสัมผัสทั้ง 5
การหยั่งเห็น
การเกิดความคิดแวบขึ้นมาทันทีทันใด
เป็นกระบวนการทางความคิดภายในตัวมนุษย์ บุคคลเรียนรู้จากสิ่งเร้าส่วนรวมได้ดีกว่าส่วนย่อย
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยเครื่องหมายของทอลแมน
ขณะที่พยายามจะไปให้ถึงจุดหมายที่ต้องการ ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้เครื่องหมาย
ผู้เรียนมีความสามารถที่จะปรับการเรียนรู้ของตนไปตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ในการเรียนรู ้ ผู้เรียนมีการคาดหมายรางวัล
รูปแบบการสอน
Carroll Model
คุณภาพของผู้เรียนและอุปกรณ์การสอน
โอกาสที่สามารถเรียนรู้
ศึกษา
ความถนัด
ความมานะ
เชาวน์ปัญญา
ทดสอบจากผลงานที่ทำได้
การตั้งจุดหมายเชิงพฤติกรรม
The QAIT Model Slavin
กระตุ้นผู้เรียนให้มีพฤติกรรมสู่เป้าหมายด้วยการบอกประโยชน์หลังจากเรียนจบ
วิเคราะห์ความสามารถของผู้เรียน
QAIT
A : Appropriate Levels of Instruction
I : Incentive
Q : Quality of Instruction
T : Time
คุณภาพการสอนพร้อมทั้งอุปกรณ์การสอน การใช้เวลา
ถามเพื่อทราบความก้าวหน้าของผู้เรียนและวัดความเข้าใจบทเรียน
A Basic Teaching Model: Glaser
พฤติกรรมของผู้เรียนก่อนที่จะเริ่มเข้าสู่การเรียน : ระดับการเรียนรู้ของผู้เรียนก่อนเริ่มการสอน
กระบวนการสอน : การดำเนินการสอน
วัตถุประสงค์การสอน
การประเมินผลการเรียนรู ของผู้เรียน