Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3)กฎหมายสําหรับบุคลากรทางการศึกษา กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับครูและวิชาชีพครู …
3)กฎหมายสําหรับบุคลากรทางการศึกษา
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับครูและวิชาชีพครู
2) การปฏิรูปการศึกษา
การปฏิรูปการศึกษาไทยก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475
ตั้งแต่รัชกาลที่ 5-7 จากการศึกษาในวัด วัง ครัวเรือน มาเป็นการศึกษาในโรงเรียน
การปฏิรูปการศึกษาครั้งที่ 1
ครั้งที่ 1 พ.ศ.2517 รัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการวางพื้นฐานการศึกษา
การปฏิรูปการศึกษาครั้งที่ 2
ครั้งที่ 2 พ.ศ.2537การศึกษาไทยในยุคโลกาภิวัตน์และสู่ความก้าวหน้าและความมั่นคงของชาติในทศวรรษหน้า”
การปฏิรูปการศึกษาครั้งที่ 3
ครั้งที่ 3 พ.ศ.2542 รัฐบาลนายชวน หลีกภัย ได้แต่งตั้งคณะกรรมการปฏิรูปการศึกษา เป็น พ.ร.บ.แม่บทของการศึกษา
การปฏิรูปการศึกษาครั้งที่4
มีการตั้งนโยบาย 12 ข้อ
1)ความเป็นมาของกฎหมาย
ความหมายของกฎหมาย
กฎที่สถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดในรัฐตราขึ้น
ความสำคัญของกฎหมาย
1) กฎหมายเป็นเครื่องมือในการสร้างความเจริญก้าวหน้าให้กับประเทศชาติ
2) กฎหมายก่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย
ประเภทของกฎหมาย
1) กฎหมายภายใน
2)การแบ่งตามสภาพบังคับของกฎหมาย
3)การแบ่งตามหลักแห่งการใช้กฎหมาย
4) การแบ่งตามความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับประชาชน
2)กฎหมายระหว่างประเทศ
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีอาญา
ลำดับศักดิ์ของกฎหมาย
รัฐธรรมนูญ
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
พระราชบัญญัติ
พระราชกำหนด
พระราชกฤษฎีกา
กฎกระทรวง
ข้อบัญญัติหรือข้อบังคับขององค์กรปกครองท้องถิ่น
3) กฎหมายที่ครูควรรู้
กฎหมายสำคัญที่เกี่ยวข้องกับครูและบุคลกรทางการศึกษา
1) พรบ.การศึกษาแห่งชาติ (2542,2545,2553,2562)
2) พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ (2547,2553,2562)
3)พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา (2546)
4) พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (2547,2551,2553,2562)
5) พรบ.คุ้มครองเด็ก (2546)
6) พรบ.การศึกษาสำหรับคนพิการ( 2551,2556)
ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
(ฉบับที่ 2) 2562”
2)สำหรับคุณวุฒิที่สำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ
มีวุฒิปริญญาอื่นและมีคุณวุฒิประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครูที่ใช้เวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 1 ปี
กรณีชาวต่างชาติ หรือผู้มีสัญชาติไทยที่ใช้คุณวุฒิจากต่างประเทศ
ผ่านการรับรองประสบการณ์วิชาชีพครูตามที่คณะกรรมการกำหนด
มีใบอนุญาตให้ทำงานในประเทศไทย (Work Permit)
มีหลักฐานการให้พำนักอยู่ในประเทศไทย
สิทธิเด็ก
1)สิทธิในการดำรงชีวิต
2)สิทธิในการได้รับการคุ้มครองจากการถูกเอารัดเอาเปรียบทางเพศ
3)สิทธิที่จะได้รับการพัฒนา
4 สิทธิในการมีส่วนร่วม
4)โทษ
การให้โทษในสถานศึกษา
ผู้ให้โทษนักเรียน คือ ผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือมอบหมาย
โทษที่จะลงโทษแก่นักเรียนหรือนักศึกษาที่กระทำความผิด
ว่ากล่าวตักเตือน
ทำทัณฑ์บน
ตัดคะแนนความประพฤติ
ทำกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การให้โทษสำหรับครู
การดำเนินการทางวินัย
การตั้งเรื่องกล่าวหา
การสืบสวนหรือการสอบสวน
การพิจารณาความผิดและกำหนดโทษ
การลงโทษหรืองดโทษ
โทษทางวินัยมี 5 สถาน
ความผิดไม่ร้ายแรง มีโทษคือ
ภาคทัณฑ์
ตัดเงินเดือน
ลดขั้นเงินเดือน
ความผิดร้ายแรง มีโทษคือ
ปลดออก
ไล่ออก
โทษทางจรรยาบรรณของคุรุสภา
โทษทางจรรยาบรรณของคุรุสภา
ยกข้อกล่าวหา
ตักเตือน
ภาคทัณฑ์
เพิกถอนใบอนุญาต
โทษทางอาญาและผู้ตัดสินโทษสำหรับครู
โทษอาญาสำหรับครู
๑)ปรับ
๒) ริบทรัพย์
๔) จำคุก
๕) ประหารชีวิต
๓) กักขัง
ผู้ตัดสินโทษ
ผู้พิพากษา
5) กฎหมายต่างประเทศ
กฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาของประเทศสิงคโปร์
กฎหมายที่เกี่ยวกับการศึกษาของสิงคโปร์
1) ภาพรวมของระบบการศึกษาของสิงคโปร์ตามนโยบายของรัฐบาลสิงคโปร์
2) การศึกษาภาคบังคับ
3) การขึ้นทะเบียนโรงเรียน
4)การขึ้นทะเบียน สถานศึกษาเอกชน
5) การขึ้นทะเบียนผู้บริหารโรงเรียนและครู
6)หน่วยงานของรัฐที่มีอำนาจหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
ตัวอย่างความน่าสนใจของกฎหมายสิงคโปร์