Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จิตวิทยาสำหรับครู, ภูวเดช โต๊ะเด็น 641108040 - Coggle Diagram
จิตวิทยาสำหรับครู
ประวัติความเป็นมาของจิตวิทยา
จุดประกายมาจากนักปรัชญาชาวกรีก
พลาโต
โสเครดิต
อริสโตเติ้ล
ฮิปโปเครติส
นักปรัชญาต้องการค้นคว้าและหาความรู้เกี่ยวกับจิต
เริ่มขึ้นตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ
กลุ่มเกสตัลท์มีความเห็นว่า การรับรู้เป็นผลรวมที่เกิดจากการรู้สึกอันเกิดจากสิ่งเร้าหลายอย่าง และคนเรารับรู้สิ่งต่าง ๆ ในลักษณะที่เป็นส่วนรวม
จอห์น บี. วอตสัน สนใจเรื่องผลลัพธ์ของพฤติกรรม
และปฏิเสธเรื่องจิต เพราะเชื่อว่าเรื่องจิตพิสูจน์ไม่ได้
เครก (Cralk) นักจิตวิทยาชาวอังกฤษ เขาได้กล่าวว่า สมองคนเปรียบเหมือนกับเครื่องคอมพิวเตอร์
กระบวนการคิด จำ process
การตอบสนอง output
สิ่งเร้า คือ input
ความสำคัญของจิตวิทยาสำหรับครู
และช่วยให้ครูเข้าใจทำนายและควบคุมพฤติกรรมการเรียนรู้ในสภาพต่างๆของผู้เรียน
พื้นฐานความคิดทางพฤติกรรมศาสตร์
พฤติกรรมของบุคคลจะต้องมีเหตุผล
พฤติกรรมหนึ่ง อาจมาจากหลายสาเหตุ ซึ่งสัมพันธ์กัน
พฤติกรรมอย่างเดียวกัน อาจจะมาจากสาเหตุต่างกัน
ความหมายของจิตวิทยา
วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่าด้วยพฤติกรรม
ราชบัณฑิตยสถานให้ความหมาย
ศาสตร์สาขาหนึ่งที่ศึกษา พฤติกรรม การกระทำ หรือกระบวนการทางจิตใจ
ศาสตร์ที่ว่าด้วยพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทั้งหมดของชีวิต
ความหมายของพฤติกรรม
การกระทำหรืออาการที่แสดงออกทางกล้ามเนื้อความคิดความรู้สึกเพื่อตอบสนองสิ่งเร้า
นักจิตวิทยาแบ่งเป็น2 ประเภท
กิจกรรมภายนอก
คือพฤติกรรมที่สามารถ รับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้า
พฤติกรรมภายใน
พฤติกรรมที่ไม่สามารถสังเกตได้ โดยตรง
จุดมุ่งหมายของจิตวิทยาสำหรับครู
ด้านความรู้ความเข้าใจ
เพื่อครูสามารถเข้าใจแนวคิดทฤษฎี เกี่ยวกับการเรียนรู้และปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้
เปิดคุณสามารถเข้าใจปรัชญา
เพื่อนครูสามารถเข้าใจ และพัฒนาผู้เรียน ในแต่ละวัยความแตกต่างระหว่างบุคคล
ทักษะหรือความสามารถ
เพื่อกู้สามารถวิเคราะห์จุดเด่นปัญหาและออกแบบวิธีพัฒนาผู้เรียน
เพื่อผู้วิเคราะห์จุดเด่นปัญหา และออกแบบวิธีการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน
เพื่อให้ครูสามารถวิเคราะห์จุดเด่นปัญหาและออกแบบช่วยเหลือและแนวเชิงจิตวิทยา
วิธีการทางจิตวิทยา
วิธีการทดลอง
คือการรวบรวมข้อมูลที่เป็นระบบเป็นขั้นตอนทางวิทยาศาสตร์
ขั้นตอนการศึกษาโดยวิธีการทดลอง
การตั้งปัญหา
การตั้งสมมติฐาน
การรวบรวมข้อมูล
การทดสอบสมมติฐาน
การแปลความหมายและรายงานผล
นำผลที่ได้ไปใช้
ข้อควรคำนึง
ตัวแปร
กลุ่มตัวอย่าง
วิธีการธรรมชาติ
คือวิธีการศึกษาพฤติกรรมต่างๆที่เกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ
วิธีการศึกษาโดยวิธีธรรมชาติ
สังเกต
การใช้ทะเบียนประพฤติ
การบันทึกความถี่ของพฤติกรรม
มาตราส่วนประมาณค่า
แบบให้คะแนน
แบบพรรณนา
แบบเปรียบเทียบเป็นคู่
แบบกราฟ
การสัมภาษณ์
แบบไม่เป็นทางการ
ไม่มีการเตรียมตัวล่วงหน้า
สร้างความสัมพันธ์อันดีกับผู้ถูกสัมภาษณ์
ข้อมูลอาจคลาดเคลื่อน
แบบเป็นทางการ
3ขั้นตอน
ขั้นเตรียม
เตรียมคำถาม
สร้างความคุ้นเคย
เตรียมสถานที่
ขั้นสัมภาษณ์
สอบถามข้อมูลที่ต้องการตามที่ได้เตรียมไว้
เปิดโอกาสให้ผู้ถูกสัมภาษณ์ได้พูด ได้แสดงความคิดมากที่สุด
ขั้นปิดการสัมภาษณ์
คนเทคนิคต่างๆให้ผู้ถูกสัมภาษณ์รู้สึกอยากจะสนทนาอีกต่อไป
แบบสอบถาม
แบบสอบถามชนิดปลายปิด
มีคำถามและคำตอบตายตัว
อะไรผู้เรียนทำเครื่องหมาย ทุกผิดหรือเขียนข้อความ หรือให้คะเเนน หิวเหนื่อย
แบบสอบถามชนิดปลายเปิด
เปิดให้ผู้ตอบตอบได้อย่างเสรี
แบบสอบถามชนิดรูปภาพ
มึงจะเด็กหรือผู้ใหญ่ที่ไม่ค่อยมีความรู้
ใช้รูปภาพสัญลักษณ์ แทนความรู้สึก
การเขียนอัตชีวประวัติ
แบบกำหนดหัวข้อเค้าโครง
แบบไม่กำหนดหัวข้อเค้าโครง
สังคมมิติ
คือวิธีการ ที่ใช้เพื่อศึกษาสถานภาพทางสังคมของนักเรียน
ประโยชน์
จะทำให้ทราบสภาพของนักเรียนในกลุ่มเพื่อช่วยเหลือนักเรียนที่โดดเดี่ยวหรือถูกทอดทิ้ง
ช่วยครูในการปกครองนักเรียน
ทำให้ทราบว่านักเรียนกลุ่มกันอย่างไร เพื่อจะได้จัดกิจกรรมที่เหมาะสม
ขั้นตอนการทางสังคมมิติ
การสร้างคำถามเพื่อทำสังคมมิติ
กำหนดกิจกรรมอันดับที่ให้เลือกอันดับที่
ทำบัตรคำถามสังคมมิติ
ทำตารางแสดงผล
สร้างแผนผังสังคมมิติเพื่อแสดงความเกี่ยวข้อง ระหว่างนักเรียนในกลุ่ม
การศึกษาบุคคลเป็นรายกรณี
ภูวเดช โต๊ะเด็น 641108040