Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายบนฐานทรัพยากรทางการศึกษา, นางสาวกาญจนา…
นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายบนฐานทรัพยากรทางการศึกษา
ความหมาย
นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
สิ่งอํานวยความสะดวกที่ช่วยทําให้ครูสามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ผู้เรียนได้เผชิญสถานการณ์ต่างๆ
ประเภทนวัตกรรม
สื่อการเรียนรู้
เทคนิควิธีการเรียนรู้
ทรัพยากรทางการศึกษา
เงิน (Money)
วัสดุ สิ่งของ (Materials)
คน (Man)
วิธีการ (Method)
ตลาด (Market)
เครื่องจักร (Machine)
ความรู้ด้านการจัดการ (Management)
เวลา (Minute)
การจัดการเรียนรู้
ฮูและดันแคน
กิจกรรมของบุคคลซึ่งมีหลักและเหตุผล
กิจกรรมที่ บุคคลได้ใช้ความรู้ของตนเองอย่างสร้างสรรค์
ฮิลล์
กระบวนการให้การศึกษาแก่ผู้เรียน
อาศัยปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ผู้สอนกับผู้เรียน
กระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนเพื่อที่จะทําให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของผู้สอน
นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย บนฐานทรัพยากรทางการศึกษา
สิ่งอำนวยความสะดวกที่ช่วยทําให้ครูสามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายโดยมีทรัพยากรทางการศึกษาเป็นองค์ประกอบสนับสนุนนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนา
ด้านพุทธิพิสัย (cognitive domain)
ความหมาย คือ การจัดการเรียนรู้ที่มุ่งช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ
ข้อมูล ข้อเท็จจริง
ความคิดรวบยอด มโนทัศน์
ข้อมูล
นำเสนอ 5 รูปแบบ คือ
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของกานเย
การจัดการเรียนรู้โดยการนําเสนอมโนทัศน์กว้าง ล่วงหน้า
การจัดการเรียนรู้เน้นความจํา
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ผังกราฟฟิก
การจัดการเรียนรู้มโนทัศน์
แนวคิดของรูปแบบของ จอยส์และวีล (Joyce & Weil)
เป็นการจำแนกสิ่งที่ใช่และไม่ใช่
ค้นหาาคุณสมบัติเฉพาะสำคัญของสิ่งนั้น
วัตถุประสงค์
ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่เข้าใจ
สามารถให้คำนิยามของมโนทัศน์ได้ด้วยตนเอง
กระบวนการเรียนรู้
ผู้สอนเตรียมข้อมูล
ผู้สอนอธิบายกติกา
ผู้สอนเสนอข้อมูลตัวอย่าง
ผู้เรียนบอกคุณสมบัติเฉพาะ
สรุปและให้คำจำกัดความ
ทรัพยากรทางการศึกษา
การจัดการ
ครูเป็นผู้ควบคุมการจัดการเรียนรู้ทุกขั้นตอน
ตลาด
ผู้สอนและผู้เรียนอภิปรายสรุปร่วมกัน
วัสดุ
สื่อการจัดการเรียนรู้
เครื่องจักร
ทีวี,สมาร์ท ทีวี,คอมพิวเตอร์
เงิน
เงินสนับสนุนจากงานวิชาการ
เวลา
วางแผนกำหนดระยะเวลาให้เกิดประสิทธิภาพ
คน
ผู้สอนมีหน้าที่จัดเตรียม
นักเรียนจะเข้าใจเนื้อหา สาระ
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ เน้นการพัฒนาด้านจิตพิสัย (Affective Domain)
แนวคิดของบลูม2รูปแบบ
การซักค้าน
ใช้บทบาทสมมติ
การจำแนกจุดมุ่งหมายทางการศึกษา
เจตคติ
ทักษะ
ความรู้
วัตถุประสงค์
พัฒนา ความรู้สึก เจตคติ ค่านิยม คุรธรรม จริยธรรม ที่พึงประสงค์
กระบวนการการจัดการเรียนรู้
ขั้นการเห็นคุณค่า
ขั้นการจัดระบบ
ขั้นการตอบสนอง
ขั้นการสร้างลักษณะนิสัย
ขั้นการรับรู้
ความหมาย
การจัดการเรียนรู้ในหมวดนี้เป็นรูปแบบที่มุ่งช่วยพัฒนา ผู้เรียนให้เกิดความรู้สึก เจตคติ ค่านิยม คุณธรรม และจริยธรรมที่พึงประสงค์
ผลการเรียนรู้ที่จะได้รับ
ได้รับการปลูกฝังค่านิยมที่ดี สามารปฏิบัติจนเป็นนิสัย
ทรัพยากรทางการศึกษา
เงิน
งบประมาณในการจัดโครงการคุณธรรม จริยธรรม
วัสดุ
อุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมจิตอาสา บำเพ็ญประโยชน์
คน
ผู้สอนจัดประสบการณ์
ผู้สอนกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรม
วิธีการ
พัฒนาความรู้สึก เจตคติ ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมอันพึงประสงค์
ตลาด
ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีค่านิยม 12ประการ
เครื่องจักร
คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์อินเตอร์เน็ต
การจัดการ
ผสมผสานความรู้ด้านต่างๆแบบสมดุล
ปลูกฝังคุณธรรมอันดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา
เวลา
ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
ใช้เวลานานในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ทุกที่ทุกเวลา
รูปแบบการจัดการเรียนรูู้ที่เน้นการพัฒนาทักษะกระบวนการ (Process Skill)
ความหมาย
เป็นทักษะที่เกี่ยวข้องกับวิธีดำเนินการต่างๆซึ่งอาจเป็นกระบวนการทางสติปัญญา
ตัวอย่างรูปแบบ
การจัดการเรียนรู้คิดอุปนัย
การจัดการเรียนรู้คิดสร้างสรรค์
การจัดการเรียนรู้สืบสอบ กระบวนการกลุ่ม
การจัดการเรียนรู้คิดแก้ปัญหา
วัตถุประสงค์
พัฒนากระบวนการคิดสืบสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ ความเข้าใจ
เครื่องมือทางสังคมช่วยกระตุ้นความเข้าใจในการแสวงหาความรู้
กระบวนการ
ผู้เรียนวางแผนในการแสวงหาความรู้
ผู้เรียนแสวงหาความรู้
ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา
ผู้เรียนวิเคราะหืข้อมูล
ผู้เรียนเผชิญปัญหา
ผู้เรียนกำหนดปัยหาที่ต้องการหาคำตอบ
ผลที่เกิดกับผู้เรียน
สืบสอบ แสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง
เกิดความใฝ่รู้และความมั่นใจในตนเอง
พัฒนากระบวนการทำงานกลุ่ม
ทรัพยากรทางการศึกษา
วัสดุ
สื่อต่างๆ
วิะีการ
กระตุ้นความสนใจผู้เรียนให้ใฝ่รู้ใฝ่เรียน
เงิน
ใช้ดำเนินกิจกรรม
ตลาด
คิดสร้างสรรค์
คิดเป็นระบบ
คิดอย่างมีวิจารณญาณ
คน
ผู้สอนช่วยอำนวยความสะดวก
ผู้สอนบทบาทคือผู้ชี้แนะ
เครื่องจักร
คอมพิวเตอรื
การจัดการ
การนิรนัย
การอุปนัย
การใช้เหตุผล
การคิดวิเคราะห์
การสืบสอบ
ความคิดสร้างสรรค์
เวลา
ระยะเวลาที่ผู้สอนฝึกปฏิบัติ
4..รูปแบบการจัดการเรียนรูที่เนนการ พัฒนาดานทักษะพิสัย (Psycho-Motor Domain)
ทิศนา
ความหมาย
รุปแบบการจัดการเรียนรูู้ตามแนวคิดการพัฒนาทักษะปฏิบัติ
ตัวอย่างรูปแบบ
รุปแบบการจัดการเรียนรูู้ตามแนวคิดการพัฒนาทักษะการปฏิบัติของซิมซัน(Simson)
รูปแบบการจัดการเรียนรูู้ทักษะปฏิบัติของเดวีส (Davies)
รูปแบบการจัดการเรียนรูู้ทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ (Harrow)
วัตถุประสงค์ของรูปแบบ
ช่วยให้ผู้เรียนทำงานที่ต้องอาศัยการเคลื่อนไหว ประสานกับกล้ามเนื้อได้ดี
กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 4 ขั้นการให้ลงมือกระทําจนกลายเป็นกลไกที่สามารถ กระทําได้เอง
ขั้นที่ 5 ขั้นการกระทําอย่างชํานาญ
ขั้นที่ 6 ขั้นการปรับปรุงและประยุกต์ใช์
ขั้นที่ 7 ขั้นการคิดริเริ่ม
ขั้นที่ 3 ขั้นการสนองตอบภายใต้การควบคุม
ขั้นที่ 2 ขั้นการเตรียมความพร้อม
ขั้นที่ 1 ขั้นการรับรู้
ผลที่เกิดกับผู้เรียน
แสดงออกอย่างชำนาญ
สร้างความอดทนกับผู้เรียน
พัฒนาความคิดสร้างสรรคื
ทรัพยากรทางการศึกษา
คน
ผู้สอนวิเคราะหืทักษะที่จะสอน
ผู้สอนอำนวยความสะดวก
เงิน
ใช้ดำเนินกิจกรรมต่างๆ
วัสดุ
สื่อการจัดการเรียนรู้
วิธีการ
กระตุ้นความสนใจ ต้องการให้สืบสอบและแสวงหาความรู้
ชวนให้คิด พัฒนาความใฝ่เรียนรู้
ตลาด
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
คิดสร้างสรรค์
คิดอย่างมีวิจารณญาณ
คิดเป็นระบบ
ตัดสินใจอย่างเหมาะสม
การจัดการ
การคิดวิเคราะห์
การอุปนัย
การนิรนัย
การสืบสอบ
การใช้เหตุผล
การคิดริเริ่ม สร้างสรรค์
เครื่องจักร
คอมพิวเตอร์
เวลา
ระยะเวลาที่ผู้สอนปฏิบัติ
6.รูปแบบการจัการเรียนรู้ที่เน้นบูรณาการการเรียนรู้ (Integration)
.ใช้การบูรณาการทั้งเนื้อหาและวิธีการ
รูปแบบที่พยายามพัมนาความรู้ด้านต่างๆไปพร้อมๆกัน
ตัวอย่างรูปแบบ
การจัดการเรียนรู้โดยการสร้างเรื่อง
การจัดการเรียนรู้ตามวัฏจักรการเรียนรู้4MAT
การจัดการเรียนรู้ทางตรง
การจัดการเรียนรู้รูปแบบการร่วมมือ
LT
GI
CIRC
TAI
JIGSAW
STAD
TGT
Complex Instruction
แนวคิดรูปแบบ
ผู้เรียนร่วมมือร่วมใจกัน มากกว่าการแข่งขัน
วัตถุประสงค์
ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหาสาระต่างๆได้ด้วยตนเอง
กระบวนการจัดการเรียนรู้
การให้รางวัลแตกต่างกันออกไป
รูปแบบจิ๊กซอว์ (JIGSAW)
ได้รับมอบหมายศึกษาเนื้อหาคนละหนึ่งส่วน
จัดผู้เรียนเข้ากลุ่มตามความสามารถ
ได้รับเนื้อหาเดียวกันตั้งให้เป็นผู้เชี่ยนวชาญ
ผู้เชี่ยวชาญกลับไปที่กลุ่มเพื่อตอบเพื่อนในกลุ่ม
ผู้เรียนทำแบบทดสอบ ผู้ที่คะแนนมากที่สุด ได้รับรางวัล
การจัดกลุ่ม การเรียนเนื้อหาสาระ การทดสอบ การให้คะแนน
ผลที่ผู้เรียนได้รับ
พัฒนาทักษะกระบวนการด้านต่างๆ
เกิดการเรียนรู้ทั้งที่หาเอง และได้รับจากเพื่อนในกลุ่ม
ทรัพยากรทางการศึกษา
วิธีการ
เน้นการนำความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง
การเรียนรู้ตามแนวทางการบูรณาการ
ตลาด
ผู้เรียนมีทักษะการทำวานร่วมกับผู้อื่น
ผู้เรียนมีทักษะการประสานงาน
การจัดการ
วิเคราะห์ความสามารถของผู้เรียนรายบุคคล
ผู้เรียนคละอยู่ในกลุ่มที่ความสามารถต่างกันได้
เครื่องจักร
คอมพิวเตอร์ ทีวี สมาร์ทบอร์ด
วัสดุ
อุปกรณ์การจัดกิจกรรมต่างๆ
เวลา
การใช้เวลาขึ้นอยู่กับครอบคลุมเนื้อหา
ใช้เวลาไม่มาก
เงิน
ใช้จัดซื้อสื่อ รางวัลต่างๆ
คน
ผุ้เรียนเกิดการเรียนรู้โดยอาศัยการร่วมมือ
ผู้สอนใช้วิธีการเสริมแรงและให้รางวัล
ผู้เรียนและผู้สอนกำหนดกิจกรรมร่วมกัน
นางสาวกาญจนา หมัดสะริ 64U54620121