Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประเภทและการใช้งานของสื่อมัลติมีเดีย - Coggle Diagram
ประเภทและการใช้งานของสื่อมัลติมีเดีย
ประเภทของมัลติมีเดียมัลติมีเดีย
จำแนกองค์ออประกอบของสื่อต่างๆออกเป็น 5 ชนิด
ได้แก่.....
ข้อความหรือตัวอักษร (Text)
1.ข้อความที่ได้จากการพิมพ์
เป็นข้อความปกติที่พบได้ทั่วไป ได้จากการพิมพ์ด้วย
โปรแกรมประมวลผลงาน (Word Processor)
เชน่ NotePad, Text Editor, Microsoft Word
โดยตัวอกั ษรแต่ละตัวเก็บในรหสั เชน่ ASCII
2.ข้อความจากการสแกน
เป็นข้อความในลักษณะภาพ
หรือ Image ได้จากการนําเอกสารที่พิมพ์ไว้แล้ว
(เอกสารต้นฉบับ)
มาทําการสแกน ด้วยเครื่องสแกนเนอร์(Scanner)
3.ข้อความอเิล็กทรอนิกส์
เป็นข้อความที่พัฒนาให้อยู่ในรูปของสื่อ
ที่ใช้ประมวลผลได้ข้อความไฮเปอรเ์ท็กซ์(HyperText)
ภาพเคลื่อนไหว (Animation)
ภาพเคลื่อนไหว หมายถึง
ภาพกราฟิกที่มีการเคลื่อนไหวเพื่อแสดงขั้นตอนหรือปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น การเคลื่อนที่ของอะตอมในโมเลกุล
หรือการเคลื่อนที่ของลูกสูบของเครื่องยนต์ เป็นต้น
ภาพนิ่ง (Still Image)
ภาพนิ่งเป็นภาพที่ไม่มีการเคลื่อนไหว เช่น ภาพถ่าย
ภาพวาด และภาพลายเส้น เป็นต้น
เสียง (Sound)
เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สําคัญของมัลติมีเดีย
โดยจะถูกจัดเก็บอยู่ในรูปของสัญญาณดิจิตอล ซึ่งสามารถเล่นซ้ำกลับไปกลับมาได้
วิดีโอ (Video)
วิดิโอเป็นองค์ประกอบของมัลติมีเดียที่มีความสําคัญเป็น
อย่างมาก
การใช้งานของสื่อมัลติมีเดีย
สามารถนําไปใช้งานได้ในหลายด้าน
ด้านการศึกษา
มัลติมีเดียเข้ามามีบทบาทสําหรับการเรียนการสอนเป็นอย่างมากจากในอดีตที ผ่านมาผู้สอนใช้อุปกรณ์ในการสอนหนังสือ เช่น กระดานดําและชอล์ก เครื่องฉายข้ามศีรษะเพื่อช่วยในการเรียนการสอนหนังสือภายในห้อง มาจนถึงปัจจุบันเปลี่ยนมาเป็นการเขียนบนสิ่งที่เรียกว่า ไวบอรด์ และปากกา โปรเจคเตอร์แทน แต่การเรียนการสอนยังคงต้องใช้ห้องเรียนสําหรับจัดการเรียนการสอนเหมือนเช่นในอดีต ในอนาคตการเรียนการสอนจะเป็นโลกที่ไร้พรมแดนจะไม่จำกัดการเรียนรู้แม้แต่เฉพาะในห้อ งเรียนเท่านั้น โดยการเรียนจะสามารถทําผ่านโลกออนไลน์หรือทุกที่ที่มีสัญญาณอินเตอร์เน็ตผ่าน หน้าจอคอมพิวเตอร์อุปกรณ์สมาร์ตโฟน เรียกการสอนแบบนี้ว่า E-Learning
ด้านการอบรม
ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer-Aid-Instruction) หรือ E-Training
ช่วยในกระบวนการจัดสรรเวลาที่เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เหมาะสําหรับการศึกษาในผู้ใหญ่ หรือที่สามารถควบคุมต้นเองได้และต้องการพัฒนาความรู้ของตนเองแต่ไม่มีเวลาเดินทางไปศึกษาในที่ห่างไกล เช่น ต่างประเทศ
ด้านบันเทิง
เป็นการพัฒนาที่ชัดเจนที่สุดทั้งในด้านการชมภาพยนตร์ หรือละคร การฟังเพลง และการเล่นเกมจากในอดีตการรับชมภาพยนตร์ จะถูกจํากัดโดยระยะเวลาของสถานีโทรทัศน์ การฟังเพลงจะจํากัดโดยระยะเวลาของสถานีวิทยุ
การเล่นเกมจะต้องมีอุปกรณ์เฉพาะราคาแพงหาซื้ออยากจะเล่นเวอร์ชั่นใหม่ต้องรอเป็นเวลานาน จํากัดจํานวนคน จํากัดเวลา จํากัดทางด้านสถานที่ในปัจจุบันผู้ชมสามารถดูหนังฟังเพลงและเล่นเกมผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์สามาร์ตโฟน ซึ่งไม่มีขีดจํากัดทางด้านเวลาสถานที่ และจํานวนผู้เล่นอีกต่อไปสามารถดูรายการได้ทั้งในและต่างประเทศคุณภาพของภาพและเสียงมีความคมชัด เพราะเป็นระบบดิจิตอลสําหรับการรับชมผ่านโทรทัศน์ผ่านทางสถานีจากในอดีตที่ผ่านมาแพร่ภาพในระบบอนาลอกในปัจจุบันก็ได้เปลี่ยนมาเป็นการแพร่ ภาพโดยระบบดิจิตอลโดยผู้ที่ต้องการรบั ชมการแพร่ภาพด้วยโทรทัศน์ก็จะต้องทำการซื้ออุปกรณ์รับสัญญาณคือ Set top box ในการรับสัญญาณตามบ้านเพื่อทําให้ สามารถรับสัญญาณเป็นระบบดิจิตอลได้โดยคุณภาพของทั้งภาพและเสียงจะมีความคมชัดกว่า
ด้านธุรกิจ
เป็นส่วนช่วยในการประชาสัมพันธ์และการบริหารจัดการ
ปัจจุบันโลกของสังคมออนไลน์ เป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยในการแพรกระจายข้อมูลข่าวสารที่เข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้อย่างตรงเป้าหมายและสะดวกรวดเร็ว เช่น การใช้Facebook, Twitter
ข่าวอิเล็กทรอนิกส์(E-New) โฆษณาอิเล็กทรอนิกส์(E-Adventist) และการถ่ายทอดสด (E-Broadcast)เป็นต้น โดยสื่อดังกล่าวจะเป็นกระบอกเสียงทั้งกลางวันและกลางคืน ค่าใช้จ่ายต่ำ และมีประสิทธิภาพสูง ด้านการบริหารจัดการเช่นการประชุมทางไกลผ่าน Video Conference โดยที่ผู้ที่เข้าประชุมจะอยู่ที่ไหนก็ได้ ไม่จําเป็นต้องอยู่ในห้องประชุมโดยการประชุมจะทําผ่านสื่อทําให้ประหยดัค่าใช้จ่าย ทุกคนสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างชัดเจน