Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (STEMI) - Coggle Diagram
โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
(STEMI)
เกิดจากPlaque
โรคนี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1.ST Segment Elevation Myocardial Infarction - STEMI
2.Non-ST Segment
Elevation Myocardial Infarction - NSTEMI
อาการ
-เจ็บอกหรือแน่นหน้าอก ซึ่งอาจร้าวไปไหล่ แขน หลัง คอหรือกราม บ่อยครั้งเจ็บบริเวณกลางอกหรืออกด้านซ้าย บางทีอาจรู้สึกคล้ายอาการแสบร้อนกลางอก อาการอื่น ได้แก่ การหายใจลำบาก คลื่นไส้ รู้สึกหมดสติ เหงื่อแตก หรือรู้สึกล้า
ปัจจัยเสี่ยง
ได้แก่ ความดันโลหิตสูง สูบบุหรี่ เบาหวาน ไม่ออกกำลังกาย โรคอ้วน ภาวะคอเลสเทอรอลสูง กินอาหารเลวและบริโภคแอลกอฮอล์มากเกิน เป็นต้น
การวินิจฉัย ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ การตรวจรังสีหลอดเลือดหัวใจ และ ตรวจเลือด Troponin T
การรักษา
-STEMI ให้ยาสลายลิ่มเลือด
-NSTEMI รักษาด้วยยาสลายลิ่มเลือด และมักจะทำ PCI
--ถ้าอาการคงที่ อาจทำBy passและให้ยารักษาระยะยาว
atherosclerosis
หญิง 60ปี
-Hx.ดื่มสุรา สูบบุหรี่
-โรคประจำตัวHT,asthma,pancretitis,Psoriasis ,ภูมิแพ้
Lifestyle
-ทานอาหารมังสวิรัติ
-ไม่ออกกำลังกาย
-ไม่พบแทย์ตามนัด
-ซื้อยาทานเอง
แพ้ยา brufenและอาหารทะเล
ได้รับยาIsodril, ASA,Plavix,Enoxa,MO
เจาะ Trop T700-13000
CAG=3VVD plan CABG
ECho=EF=52.8%
-รพ.ลานนา
มีปัญหา Economic
ญาตินำส่งรพ.ลานนา
ึ7วันก่อนจุกแน่นใต้ลิ้นปี่
-เป็นลมหมดสติ
-ไม่ได้พบแพทย์
เลิกสูบหรี่ 30ปี,ยังดื่มเหล้าเมื่อมีงาน
-3วัน chest painร้าวไปกรามมา
ญาตินำส่งรพ.
Refer ตามสิทธิ์
-admit 21/11/64
Consult Med เรื่อง asthma,Psoriasis
ได้รับยา ของอายุรแพทย์
Consult แพทย์CVT plan Sx.
Set OR forMedian stemotomy to OPCAB*3
20/12/64
รับไว้ดูแล 20-22/12/64
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปัญหาทางการพยาบาลที่ค้นพบ
ระยะก่อนการผ่าตัด
1..มีภาวะเจ็บแน่นหน้าอกเนื่องจากมีเลือดไปเลี้ยงที่หัวใจลดลง
2.ผู้ป่วยมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการผ่าตัด
ระยะการผ่าตัด
4.เสี่ยงต่อการเสียเลือดระหว่างการผ่าตัด (risk for bleeding)/เสี่ยงต่อภาวะ hypovolemic shock/ ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจใน 1 นาทีลดลง (decreased cardiac output) เนื่องจากเสียเลือดมากจากการผ่าตัด
1.เสี่ยงต่อการติดเชื้อของแผลผ่าตัด (surgical site infection) เนื่องจากการปนเปื้อนสัมผัสเชื้อขณะผ่าตัด
2.เสี่ยงต่อการได้รับอุบัติเหตุจากการตกเตียง อันตรายจากการใช้อุปกรณ์เครื่องไฟฟ้า
3.เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากการระงับความรู้สึก
ระยะหลังผ่าตัด
1.มีภาวะ Low cardiac out put หลังผู้ป่วยผ่าตัดหัวใจ
2.เสี่ยงต่อการเกิดภาวะcardiac Arrhythmia
3.แบบแผนการหายใจไม่มีประสิทธิภาพ
4.,มีภาวะไม่สมดุลของเกลือแร่ในร่างกาย
5.ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผลผ่าตัด
6.เสี่ยงต่อการติดเชื้อที่แผลผ่าตัด
เจาะLAb=พบไขมันในเลือดสูง
รพ.นครพิงค์