Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาระบบทางเดินอาหาร Gastrointestinal Medicine : - Coggle Diagram
ยาระบบทางเดินอาหาร
Gastrointestinal Medicine :
ยารักษาอาหารท้องเสีย
สารที่มีฤทธิ์ดูดขับสารพิษเป็นต้นเหตุของอาการท้องเสีย
1.KaolinและPectin
ยาจะไปเคลือบคลุมเยื่อเมือกในทางเดินอาหารช่วยป้องกันไม่ให้สัมผัสกับสิ่งระคายเคืองต่างๆนอกจากนี้ยังมีฤทธิ์ดูดซับแก็สและกรดด่างสารพิษต่างๆและแบคทีเรียทําใหอุจจาระจับตัวเป็นก้อน
ออกฤทธิ์
ผลข้างเคียง
อาเจียน ท้องผูก
2 Activated charcoal
ออกฤทธิ์
เป็นถ่านขนาดพิเศษซึ่งกระตุ้นให้ผิวเซลล์สามารถดูดซับสารพิษได้เร็วขึ้น ใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการท้องเดินเนื่องจากสามารถดูดซับสารพิษที่เป็นต้นเหตุของท้องเดินได้ดี
ผลข้างเคียง อุจจาระสีดำ
3 เกลือ Bismuth
ออกฤทธิ์สามารถจับกับสารพิษที่สร้างจากเชื้ออหิวาห์และ E.coli ช่วยลดการอักเสบของลำไส้และการเคลื่อนไหวของลำไส้มากเกินไป
การรักษา
แก้ท้องเสียที่ไม่รุนแรงมากและใช้ป้องกันและ
รักษาต้องเสียเมื่อมีการเดินทาง
สารที่ลดการเคลื่อนไหวของลําไส้
Loperamide(Loperdium, Imodium, Loperamide
กลไกออกฤทธิ์
ยากลุ่มนี้นิยมใช้รักษาอาการท้องเสียมากกว่ายากลุ่มอื่นยาเป็นกลุ่มอนุพันธ์ของฝิ่นออกฤทธิ์จับกับμ-receptorที่ทางเดินอาหารทำให้ลดการเคลื่อนไหวของลำไส้ช่วยยึดเวลาที่อุจจาระอยู่ในลำไส้
ข้อควรระวัง :red_flag:ไม่ควรใช้ยาในขนาดสูงเกินไประวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่มีอาการท้องเดินแบบติดเชื้อทีมีการอักเสบและแผลที่ลำไส้หากรับประทานยาแล้วภายใน 48 ชั่วโมงอาการไม่ดีขึ้นควรหยุดใช้ยา
ยา Diphenoxylate (Dilomil®, Ditropine®)
การให้ยาในขนาดต่ำไม่มีผลต่อระบบประสาทหากใช้ยาติดต่อกันเป็นเวลานานอาจเกิดอาการติดยาได้มีการนำยา dphenoxylate มาผสมกับatropine ได้เป็นยา lomotil เพื่อลดการบีบตัวในลำไส้
การออกฤทธิ์ :red_flag:ยับยั้ง การเคลื่อนไหวของลำไส้เหมือนMorphine
แต่ไม่มีฤทธิ์ระงับความเจ็บปวด
ผลข้างเคียง คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ผื่นแดง มึนงง เวียนศีรษะ ซึมกระสับกระส่าย ท้องอืด ปากแห้ง ตาพร่ามัว
Opioids (Morphine, Diphenoxylate)
บรรเทาอาการท้องเดินโดยการออกฤทธิ์ที่4-receptorที่บริเวณผิวเซลล์ของลำไส้เล็กโดยมีผลยับยั้ง การบีบตัวของลำไส้ทำให้เพิ่มระยะเวลาในการที่อุจจาระอยู่ในลำไส้ทำให้น้ำมีโอกาสถูกดูดซึมกลับเข้า
เยือบุลำไส้ได้อีก
ผงน้ำตาลเกลือแร่ (Oral rehydration salts ORS)
ผงน้ำตาลเกลือแร่หรือโออาร์เอสใช้รักษาอาการท้องเสียเบื้องต้นเพื่อทดแทน้ำและเกลือแร่ร่างกายสูญเสียไปจากอาการท้องเสียวิธีรับประทานคือให้จิบในปริมาณน้อย ๆ จิบไปเรื่อยๆ จิบบ่อย ๆ และควรดื่มให้หมดภายใน24 ชั่วโมงหลังการผสม
อื่นๆ
Lactobacillus acidophilus
เป็นแบคทีเรียในรูปแห้งและเข้มข้นสำหรับรับประทานใช้ในผู้ป่วยท้องเดินซึ่งเกิดจากการเปลียนแปลงในลำไส้acidophilus
เป็นแบคทีเรียที่พบได้ในลำไส้สร้างกรด Lactic
สารที่ทําให้อุจาระเป็นก้อน
ออกฤทธิ์
ดูดน้ำเข้าหาตัว ทำให้อุจจาระพองตัวและจับกันเป็นก้อน
บรรเทาอาการอุจจาระเหลวเป็นน้ำได้แก่
methylcellulose
psylium
sterculia
polycarbophil
ยาระบาย
ยา docusate salts
ยาที่ระบายที่มีฤทธิ์กระตุ้นลำไส้
3.1 Bisacodylunina (Dulcolax®, Bisolax®, Emulax®)
ออกฤทธิ์
กระตุ้นปลายประสาทในเยื่อมูกของลำไส้ใหญ่โดยตรงทำให้ลำไส้ใหญ่บีบตัวแรงและเร็วขึนและกระตุ้นเยือบุทางเดินอาหารให้หลัง PGE2
3.2 Anthraquinone laxatives
ออกฤทธิ์ :red_flag:เป็นสารที่พบในใบมะขามแขก (senna) ว่านหางจรเข้(Aloe) โกฏน้ำเต้า(rhubarb) ได้แก่ยา Senna (Senokots®, Peri-Colaceซึ่งมีฤทธิการะตุ้นปลายประสาทลำไส้ใหญ่ทำให้การเคลื่อนไหวลำไส้เพิ่มมากขึ้น
3.3 Castor oil ออกฤทธิ์ :red_flag:เอนไซม์ lipase จากตับอ่อนได้กลีเซอรีนและกรดริซิโนเลอิค(ricinoleic acid)ทำให้มีการเพิ่ม ปริมาณในลำไส้เกิดเร่งการขับถ่ายขึ้นยา Castor oilเป็นน้ำมันที่สกัดได้จากเมล็ดละหุ่ง
ยาที่อยู่ในรูปแบบเม็ดเคลือบห้ามบดหรือเคี้ยวยาเพื่อให้ยาแตกตัวในลำไส้ควรรับประทานยาทั้ง เม็ดพร้อมอาหารหรือหลังอาหารทันทีและดืมน้ำตามมาก ๆ ใช้แก้ท้องผูกแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง 10 mg
ยาระบายที่มีแรงดึงมาก
ออกฤทธิ :pencil2:ดึงน้ำาจากร่างกายเข้ามาในลำไส้ด้วยแรงดัน osmoticทำให้รงดันในลำไส้เพิ่ม ขึ้นเกิดการกระตุ้นให้ลำไส้บีบตัวและขับถ่ายอุจจาระออกมา
ยาในลุ่มนี้ ได้แก่ ยาน้ำาตาลแลคหูโลส (actutoseกลีเซอรีน (glycerin) ซอร์บิทอล (sorbital)สะโพลีเอทธิลีนไกลคอล (polyethelineglycol)
ที่นาทีโดยยาจะทำให้เกิดแรงดันออสโนติกและมีผลต่อการระคายเคืองเฉพาะที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวเหมาะในเด็กในใช้มาก ได้แก่ ยาเหน็บ glycerin ออกฤทธิ์ภายใน 30สตรีมีครรภ์และหญิงให้นมบุตร
ยาที่ช่วยหล่อลื่นและทำให้อุจจาระอ่อนนุ่ม
ยาในกลุ่มนี้มีฤทธิ์
ทำให้อุจจาระอ่อนนุ่มลงภายใน 24-48ชั่วโมงใช้ในผู้ป่วยที่ไม่ต้องให้ออกแรงเบ่งเช่นผู้ป่วยไส้เลื่อนผู้ป่วยโรค
หัวใจ
ลดความตึงผิวของก้อนอุจจาระทำให้น้ำาและไขมันรวมตัวกันเป็นผลทำให้อุจจาระนุ่มลงใต้และขับถ่ายออกได้สะดวกมากขึ้น แต่ไม่มีผลต่อการเคลื่อนไหวของลำไส้
ยาที่ทำให้เกิดการเพิ่มของกากใย
ได้แก่ (psyllium, methylcellulose)
ผลข้างเคียง :black_flag:เกิดลมในกระเพาะอาหารมากกว่าปกติได้ยามีผลไปดูดซับยาตัวอื่นจึงห้ามให้พร้อมกับยาตัวอื่นห้ามใช้ในผู้ป่วยที่เป็นแผลเรื้อรังในลำไส้
กลไกในการออกฤทธิ :red_flag:เกิดการพองตัวในลำไส้ทำให้เพิม่ ปริมาณกากในอุจจาระทำให้เกิดการกระตุ้นที่ลำไส้เกิดการเคลื่อนไหวบีบตัวขับอุจจระออกมา
การรักษา :red_flag:อาการท้องผูกเรื้อรัง
ยาระงับอาการคลื่นไส้และอาเจียน
ยาต้านโคลิเนอร์จิก (Anticholinergic drugs)
ยาต้านฮีสตามีน (H1)
ยาต้านโดปามีน (D2)
ยาต้านเซอโรโตนิน (5HT3)
สารสกัดจากกัญชา (Cannabinoids)
ยาต้านนิวโรไคนิน (NK-1)
กลไกการออกฤทธิ์
การอาเจียนจะเกิดขึ้นเมื่อศูนย์ควบคุมการอาเจียนในสมอง คือ Chemoreceptor Trigger Zone(CTZ)
ศูนย์อาเจียน (vomiting center) ถูกกระตุ้น ศูนย์อาเจียนอาจถูกกระตุ้นโดยตรงจากตัวรับความรู้สึกในทางเดินอาหาร จากสมอง และจากระบบที่ควบคุมการทรงตัวในหู
ประโยชน์ในการรักษาทางคลินิก
สามารถป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียนที่เกิดจากการ
เคลื่อนไหว (motion sickness) เช่น เมารถ เมาเรือ ได้ดียาในกลุ่มนี้จะให้ผลดีถ้าให้ก่อนการเดินทางอย่างน้อยครึ่งชั่วโมง
ผลข้างเคียง
อาการไม่พึงประสงค์ที่พบบ่อย ได้แก่ อาการง่วง มึนงง ปากแห้ง
ยารักษาแผลในทางเดินอาหาร
1 ยาออกฤทธิ์โดยการลดกรด
ยาลดกรด
กลไกการออกฤทธิ์
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
1 ยาลดกรดที่ออกฤทธิ์โดยทั่วไป (Systemic Gastric Antacid)
2 ยาลดกรดที่ออกฤทธิ์เฉพาะแห่ง (non-systemic gastric antacid)
ยาลดกรดส่วนใหญ่จะประกอบด้วยสารที่มีฤทธิ์เป็นด่างอ่อนจึงอาศัยความเป็นด่างทำปฏิกิริยากับกรดในกระเพาะอาหารทำให้ระดับ pHในกระเพาะเพิ่มขึ้น 3- 4ระดับทำให้ความเป็นกรดในกรระเพาะอาหารลดลงจึงส่งผลทำให้pepsin ในกระเพาะอาหารทำงานได้น้อยลง (pepsin)เป็นตัวกระตุ้นให้แผลในทางเดินอาหารแย่ลงนอกจากนั้นยายังมีผลเพิ่มแรงดันในหูรูดหลอดอาหารส่วนล่างและมีฤทธิ์สมานแผลเฉพาะที่
ประโยชน์ในการรักษาทางคลินิก
dyspepsia
peptic ulcer disease
non-ulcer dyspepsia
heart burn
ผลข้างเคียง
ยาลดกรดแทบไม่ก่อให้เกิดผลข้างเคียงเมื่อรับประทานในปริมาณที่เหมาะสมและในกรณีที่จำเป็น แต่บางรายก็อาจเกิดอาการท้องเสีย ท้องผูก ท้องอืด เรอ คลื่นไส้ อาเจียน
GERD การให้ยา antacid หลังอาหารทุก 1 และ 3 ชั่วโมงและก่อนนอนจะช่วยช่วยให้แผลทางเดินอาหารหายเร็วขึ้นและหากให้ติดต่อกันนานอย่างน้อย 4-6 สัปดาห์จึงจะให้ผลการรักษาที่ดีต่อการรักษา
ข้อควรระวัง
หญิงมีครรภ์หรือกำลังให้นมบุตรควรปรึกษาแพทย์ก่อนการใช้ยา เนื่องจากยาลดกรดบางชนิดอาจมีส่วนผสมของโซเดียมไบคาร์บอเนต ซึ่งอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงกับหญิงมีครรภ์
ไม่ควรรับประทานยาลดกรดพร้อมกับยาชนิดอื่นภายใน 2-4 ชั่วโมง เพราะอาจดูดซึมฤทธิ์ยาตัวอื่นจนทำให้ออกฤทธิ์ได้ไม่เต็มที่
2 ยาที่มีฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งกรด
กลไกการออกฤทธิ์
ประโยชน์ในการรักษาทางคลินิก ยาที่ยับยั้งการหลั่งกรดในกระเพาะอาหารชนิดที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของโปรตอนปั๊ม (proton pump inhibitors หรือ PPIs) เป็นยาที่ใช้กันมากในปัจจุบันเพื่อรักษาโรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้ เช่น โอเมพราโซล (omeprazole), เอสโซเมพราโซล (esomeprazole), แลนโซพราโซล (lansoprazole), เด็กซ์แลนโซพราโซล (dexlansoprazole), แพนโทพราโซล (pantoprazole), ราเบพราโซล (rabeprazole) ::star:
:star:ออกฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร จึงช่วยลดอาการแสบกระเพาะอาหาร อาการปวดท้องส่วนบน ท้องอืด จุกเสียดแน่นท้องบริเวณลิ้นปี่ รู้สึกอึดอัดไม่สบายตัว คลื่นไส้ อาเจียน อาการแสบร้อนกลางอกหลังรับประทานอาหารเนื่องจากกรดเกิน:star:
ผลข้างเคียง จากการใช้ยาที่พบได้บ่อย ได้แก่ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดท้อง มีแก๊สในกระเพาะอาหาร
ข้อควรระวัง
ห้ามใช้ยานี้กับหญิงมีครรภ์และให้นมบุตรเพราะยานี้สามารถผ่านสู่น้ำนมและเป็นอันตรายต่อลูกได้
3 ยาที่ออกฤทธิ์ปกป้องเยื่อบุผนังทางเดินอาหาร
กลไกการออกฤทธิ์
ยาในกลุ่มนี้มีฤทธิ์เสริมสร้างปัจจัยในการป้องกันเยื่อบุทางเดินอาหารโดยกลไกการออกฤทธิ์ต่างๆ เช่น ช่วยเคลือบปิดแผล เพิ่มการสร้างสารเมือก (mucus) ที่ปกคลุมเยื่อบุทางเดินอาหาร หรือเพิ่มการสร้างไบ
คาร์บอเนต (bicarbonate)เพื่อสะเทินฤทธิ์กรด รวมทั้งเพิ่มการสร้างพรอสตาแกลนดิน (prostaglandin) ซึ่งเป็นสารที่มีบทบาทสําคัญในการปกป้องซ่อมแซมตัวเองของเซลเยื่อบุทางเดินอาหาร
ประโยชน์ในการรักษาทางคลินิก
ออกฤทธิ์โดยการเคลือบแผลในทางเดินอาหารและปกป้องแผลจากกรดและ pepsinนอกจากนั้นยังเพิ่มการสร้างพรอสตาแกลดิน(prostaglandin) ของเซลเยื่อบุทางเดินอาหาร
ผลข้างเคียง
มีฤทธิ์ไม่พึงประสงค์น้อย ที่พบบ่อยคือ ท้องผูก ซึ่งเป็นผลจากอลูมิเนียมไฮดรอกไซด์ (aluminumhydroxide) ที่เป็นสารประกอบเชิงซ้อนของยา และอาจพบอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปากแห้ง ปวดศีรษะ
4 ยาที่ขจัดเชื้อ H.pylori
กลไกการออกฤทธิ์
:การติดเชื้อแบคทีเรีย Helicobacter pylori (H.pylori)
เป็นสาเหตุหลักของการเกิดแผลในทางเดินอาหารจําเป็นจะต้องได้รับยาขจัดเชื้อ H.pylori นิยมใช้การรักษาแบบ triple therapy โดยให้ยายับยั้งการหลั่งกรดกลุ่ม PPIs (Proton Pump Inhibitors) 1 ตัว ร่วมกับยาปฏิชีวนะ (Antibiotics) 2 ตัว
ประโยชน์ในการรักษาทางคลินิก
:ใช้ป้องกันหรือรักษาการติดเชื้อจากแบคทีเรียชนิดต่าง ๆ ในร่างกาย ทั้งบริเวณผิวหนังและในระบบทางเดินหายใจ และในบางครั้งอาจถูกนำมาใช้ร่วมกับยาชนิดอื่น ๆ เพื่อรักษาโรคติดเชื้อเอชไพโลไร (Helicobacter Pylori) ในระบบทางเดินอาหาร
ผลข้างเคียง
อาจได้รับผลข้างเคียงที่ไม่จำเป็นต้องรับการรักษาทางการแพทย์ เช่น เรอ ผายลม มีแก๊สในท้องหรือลำไส้ แน่นท้องหรือประสาทสัมผัสการรับรสเปลี่ยนไป