Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
IMMUNOLOGY (วิทยาภูมิคุ้มกัน) - Coggle Diagram
IMMUNOLOGY
(วิทยาภูมิคุ้มกัน)
ภูมิคุ้มกัน และระบบภูมิคุ้มกัน
ภูมิคุ้มกัน (Immunity)
คือ กระบวนการป้องกันร่างกายจากสิ่งแปลกปลอม หรือ antigen (Ag) เช่น เชื้อโรคต่าง ๆ ได้แก่ แบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา ปรสิต
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune System)
ทำหน้าที่
คอยป้องกันไม่ให้เชื้อโรค หรือสิ่งแปลกปลอมเข้ามาทำอันตรายต่อร่างกาย
แต่เมื่อหลุดเข้ามาแล้ว ระบบภูมิคุ้มกันจะพยายามทำลาย และกำจัดสิ่งแปลกปลอมให้หมดไปจากร่างกายโดยเร็ว และอย่างมีประสิทธิภาพ
อาศัยการทำงานร่วมกัน ประกอบด้วย
The innate immune system (non-specific)
The adaptive immune system (specific)
หน้าที่ของระบบภูมิคุ้มกัน (Function of Immune System )
ประกอบด้วย
Homeostasis
คอยกำจัดเซลล์ปกติที่เสื่อมสภาพ เช่น กำจัดเซลล์เม็ดเลือดที่มีอายุมาก
Surveillance
คอยดักทำลายเซลล์ต่าง ๆ ที่แปรสภาพผิดไปจากปกติ เช่น ทำลาย tumor cells เพื่อป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง
Defense
ป้องกัน ทำลายเชื้อโรค และสิ่งแปลกปลอม
เซลล์ที่สำคัญในระบบภูมิคุ้มกัน (Immune Cell)
ประกอบด้วย 9 ชนิด
Lymphocyte
อายุ : หลายสัปดาห์ - หลายปี
เซลล์เป้าหมาย : เชื้อแบคทีเรีย เซลล์ที่ติดเชื้อไวรัส เซลล์มะเร็ง
พบในประแสเลือด : 20-40 %
Lymphocyte
T-lymphocyte (T-cell)
ทำหน้าที่ ต่อต้านสิ่งแปลกปลอม การติดเชื้อ และเซลล์ที่มีการเปลี่ยนแปลง เช่น เซลล์มะเร็ง เซลล์ติดเชื้อไวรัส
สร้างจาก thymus gland
B-lymphocyte (B-cell)
สร้างจาก bursa equivalent tissues
ทำหน้าที่ผลิต immunoglobulin หรือ antibody
Natural killer cell (NK cell)
ทำหน้าที่ ทำลายเซลล์มะเร็ง และเซลล์ติดเชื้อไวรัส
Basophil
อายุ : หลายชั่วโมง – หลายวัน
เซลล์เป้าหมาย : เนื้อเยื่อที่เกิดอาการแพ้
พบในประแสเลือด : < 1 %
Monocyte
อายุ : หลายชั่วโมง – หลายวัน
เซลล์เป้าหมาย : หลากหลาย
พบในประแสเลือด : ประมาณ 2-6 %
Eosinophil
อายุ : 8-12 วัน
เซลล์เป้าหมาย : เชื้อปรสิต เชื้อพยาธิเนื้อเยื่อที่เกิดอาการแพ้
พบในกระแสเลือด : ประมาณ 1-6 %
Macrophage
อายุ : หลายเดือน - หลายปี
เซลล์เป้าหมาย : หลากหลาย
Monocyte เคลื่อนที่จากเลือดไปอยู่ใน เนื้อเยื่อ เช่น ตับ ม้าม ไขกระดูก ต่อมน้ำเหลือง สมอง ต่อมไทมัส ผนังถุงลม แล้วเปลี่ยนเป็น Macrophage
Neutrophil
อายุ : 6 ชั่วโมง – หลายวัน
เซลล์เป้าหมาย : เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา
พบในประแสเลือด : ประมาณ 40-70 %
Mast cell
มีบทบาทสำคัญในภาวะภูมิไวเกินชนิดที่ 1
Hematopoietic stem cell (hemocytoblast)
พบในไขกระดูก 0.5 – 1 %
เป็นเซลล์ต้นกำเนิดของเซลล์ต่าง ๆ ในกระแสเลือด
ปฏิกิริยาการตอบสนองด้านภูมิคุ้มกันของร่างกายต่อเชื้อจุลินทรีย์
ประกอบด้วย
ภูมิคุ้มกันต่อเชื้อรา
Human Blood Leukocytes : Neutrophil, Macrophage
Adaptive immunity (specific) : Antibody, CD4+ T-cell, CD8+ T-cell
ภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส
Human Blood Leukocytes : Lymphocyte (NK cell)
Innate immunity (non-specific) : Interferon
Adaptive immunity (specific) : Antibody (IgA), CD4+ T-cell, CD8+ T-cell
ภูมิคุ้มกันต่อเชื้อแบคทีเรีย
Extracellular bacteria
Innate immunity (non-specific) : Phagocytosis, Complement
Adaptive immunity (specific) : Antibody (IgM, IgG, IgA), CD4 + T-cell
Intracellular bacteria เช่น ปอด
Neutrophil, Macrophage, NK cell, CD4 + T-cell, CD8+ T-cell
ภูมิคุ้มกันต่อเชื้อปรสิต
Human Blood Leukocytes : Eosinophil, Mast cell
Innate immunity (non-specific) : Phagocytosis, Complement
Adaptive immunity (specific) : Antibody (IgE)
ชนิดของภูมิต้านทาน (Immunit)
แบ่งเป็น
Passive immunity (รับมา)
Natural passive immunity : ทางรก น้ำนมจากแม่
Artificial passive immunity : เซรุ่มแก้พิษงู
7 Ways Immune system
Lack of sleep
Smoking
Lack of exercise
Dehydration
Alcohol
Unhealthy diet
Stress and anxiety
Active immunity (สร้างเอง)
Artificial active immunity : วัคซีน toxoid
Natural active immunity : หลังติดเชื้อ
ชนิดของระบบภูมิคุ้มกัน (Immune System)
แบ่งเป็น
Innate immunity (non-specific)
ไม่มีความจำเพาะเจาะจงกับชนิดของเชื้อโรค
เป็นระบบภูมิคุ้มกันที่มีมาแต่กำเนิด
ไม่จำเป็นต้องได้รับเชื้อโรคนั้นมาก่อน
ประกอบด้วย
Phagocytosis
ทำหน้าที่ในการกำจัดสิ่งแปลกปลอมในร่างกาย
เป็นการกลืนกินของเซลล์
Inflammatory response
มีการเคลื่อนย้ายของ phagocytic cell มายังบริเวณที่มีสิ่งแปลกปลอม
อาการ ปวด บวม แดง ร้อน
Barrier (body’s defenses)
จะมี
ผิวหนัง (Skin)
รูขุมขน (Hair follicles)
ต่อมไขมัน (sebaceous glands)
Normal flora
Mucous from Respiratory, GI tract, Genitourinary tract
Fever
ผลจากการหลั่งสาร เช่น Interleukin-1 (IL-1), Interleukin-6 (IL-6) และผลจากการหลั่งสาร tumor necrosis factor (TNF) จากเซลล์มะเร็ง เพื่อตอบสนองเชื้อจุลินทรีย์
สมองจะปรับ (reset) อุณหภูมิในร่างกายให้สูงขึ้น เกิดอาการไข้ มีผลยับยั้งการแบ่งเซลล์จุลินทรีย์
Interferon (IFN)
โปรตีนที่หลั่งจากเซลล์ที่ติดเชื้อไวรัส
ทำหน้าที่กระตุ้นเซลล์ให้ผลิต antivirus protein ออกฤทธิ์ยับยั้งการแบ่งตัวของเชื้อไวรัส
Complement
ทำหน้าที่สลายเซลล์และหลั่งสารเคมี
Adaptive immunity (specific)
ประกอบด้วย
Cell mediated immune response (CMIR)
เซลล์ที่รับผิดชอบ คือ T-lymphocyte (T-cell) และ Macrophage
ประกอบด้วย
Killer (cytotoxic) T-lymphocyte (TK)
ทำลายเซลล์ที่มี Ag เกาะอยู่บนผิว แล้วทำให้เซลล์แตก
Delayed hypersensitivity T-lymphocyte (TD)
ควบคุมการทำงานของ T-cell และ B-cell
Suppressor T-lymphocyte (TS)
ควบคุม T-cell และ B-cell ไม่ให้ทำงานมากเกินไป
Memory T-lymphocyte (TM)
ทำหน้าที่ จดจำ Ag เป็นเซลล์ที่มีอายุยืน เมื่อสัมผัส Ag ซ้ำ TM จะแบ่งตัวเพิ่มจำนวนอย่างรวดเร็ว
Helper T-lymphocyte (TH)
ช่วย B-lymphocyte สร้าง Ab หรือ Ig
ช่วยให้ภูมิคุ้มกันทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Humoral immune response (HIR)
เซลล์ที่รับผิดชอบ คือ B-lymphocyte (B-cell) และ plasma cell
อาศัยการทำงานของ antibody (Ab) หรือ Immunoglobulin (Ig) (การตอบสนองโดยใช้สารน้ำ)
Antibody (Ab) / Immunoglobulin (Ig)
สามารถทำปฏิกิริยาได้กับ Antigen (Ag) หรือเชื้อโรคต่าง ๆ อย่างจำเพาะ
พบในกระแสเลือด และสารคัดหลั่ง สร้างจาก B-lymphocyte (B-cell)
จะมี
Immunoglobulin G (IgG)
มีมากที่สุดในเลือด (70-75 %) เคลื่อนตัวผ่านรกได้ ทำหน้าที่ป้องกันการติดเชื้อ
Immunoglobulin A (IgA)
พบ 10-15 % (รองจาก IgG) พบใน ทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ เนื้อเยื่อทางเดินปัสสาวะ น้ำลาย น้ำตา น้ำนม ทำหน้าที่ป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรีย
Immunoglobulin M (IgM)
พบ 10 % (ผ่านรกและผนังหลอดเลือดไม่ได้) มีบทบาทสำคัญในการทำลาย Gram negative bacteria IgM มีระดับสูงขึ้น เมื่อพบการติดเชื้อระหว่างการตั้งครรภ์
Immunoglobulin D (IgD)
พบน้อยในเลือด (น้อยกว่า 1 %) ช่วยในการสร้าง memory B-cell
Immunoglobulin E (IgE)
พบน้อยที่สุด (ประมาณ 0.001%) เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาภูมิแพ้ โดยจับกับ Mast cell และ Basophil ทำหน้าที่ทำลายเชื้อปรสิต เชื้อพยาธิ และพบในผู้ที่มีภาวะภูมิไวเกินชนิดที่ 1
ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันจดจำ และสร้างภูมิคุ้มกันที่มีความจำเพาะกับชนิดของโรคนั้น
เป็นระบบภูมิคุ้มกันที่เกิดขึ้นเมื่อร่างกายเคยได้รับเชื้อโรคนั้นมาก่อน