Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพระบบประสาทระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง - Coggle…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพระบบประสาทระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
-ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติที่พบบ่อย
อาการปวดศีรษะ ตามัว อาเจียน
อาการของการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ
อาการชัก อาการซึมลง
ความผิดปกติในการพูด เช่น พูดลำบาก พูดตะกุกตะกัก พูดไม่ชัด
ปัญหาที่พบบ่อยของผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบประสาท
ภาวะความรู้สึกตัวลดลง
เป็นความผิดปกติของระดับความรู้สึกตัวที่ทำให้ความตื่นตัวลดลงมีความรุนแรงของอาการต่างกัน
แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ
กลุ่มที่เกิดจากมีรอยโรคในศีรษะ
กลุ่มที่ไม่ได้มีรอยโรคในศีรษะ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
ภาวะขาดออกซิเจน
โรคทางจิตเวช
กล้ามเนื้อชาหรืออ่อนแรง
ชักเส้นประสาทก้านสมองอ่อนแรง
การติดเชื้อในระบบประสาทส่วนกลาง
การติดเชื้อในระบบประสาทส่วนกลางที่พบบ่อย
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
การติดเชื้อโดยตรงจากภายนอกเข้าสู่ subarachnoid space
การติดเชื้อที่ลุกลามไปจากแหล่งติดเชื้อที่อยู่ใกล้สมอง และไขสันหลัง
การแพร่กระจายทางละอองอากาศจากการไอ จาม เข้าสู่ mucosa ของรูจมูกแพร่ไปตามเส้นประสาทสมองคู่ที่1 เข้าสู่สมอง
อาการและอาการแสดง
มีอาการไข้และปวดศีรษะ
มีอาการของเยื่อหุ้มสมองถูกระคายเคือง
ตรวจพบkerninig signและ Brudzinski signให้ผลบวก
มีภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
อาการอัมพาตของเส้นประสาทสมอง
การตรวจวินิจฉัย
การตรวจน้ำไขสันหลัง
การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์
การรักษา
การรักษาตามอาการเช่นการควบคุมการชักการรักษาภาวะสมองบวม
การรักษาเฉพาะหลักการรักษา คือ ต้องให้ยาฆ่าเชื้อโรค
สมองอักเสบ
อาการและอาการแสดงสมองอักเสบ
อาการไข้
ปวดศีรษะ
ครั่นเนื้อครั่นตัว
มีอาการสับสน
วุ่นวายหรือเพ้อคลั่ง
มีอาการซึม
1 more item...
การตรวจวินิจฉัยสมองอักเสบ
การตรวจ MRI
การตัดชิ้นเนื้อสมอง (Brain biopsy)
การรักษาสมองอักเสบ
การรักษาเฉพาะเพื่อทำลายเชื้อโรค
การรักษาประคับประคอง
ฝีในสมอง
อาการและอาการแสดงฝีในสมอง
ปวดศีรษะและคลื่นไส้อาเจียน
เส้นประสาทตาบวม
การตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ฝีในสมอง
CT
MRI
การเจาะหลัง
การรักษาฝีในสมอง
1.การรักษาโดยให้ยา
การผ่าตัด
1.) เจาะดูดหนอง
2.) ผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะเอาฝีในสมองออก(Craniotomy Resection)
ชัก
ปัจจัยที่ส่งเสริมหรือกระตุ้นให้เกิดอาการชัก
อารมณ์เครียด
การอดนอน
การทำงานเหนื่อยมาก
ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ภาวะที่ร่างกายขาดออกซิเจน
การรักษา
1.การรักษาตามสาเหตุ
ให้ยาต้านชัก
กิจกรรมการพยาบาลเมื่อผู้ป่วยมีอาการชัก
คงไว้ซึ่งการได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอในขณะชัก
และหลังชักเกร็ง
คงไว้ซึ่งการป้องกันอันตรายจากการเกิดภาวะชักเกร็ง
คงไว้ซึ่งการได้รับน้ำและสารอาหารอย่างเพียงพอ
เนื้องอกระบบประสาทส่วนกลาง
การรักษา
การรักษาทางผ่าตัด
รังสีรักษา
เคมีบำบัด