Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคโนโลยีทางการศึกษา: หลักการ+แนวปฏิบัติ ประกอบด้วย 5 ตอน 22 บท - Coggle…
เทคโนโลยีทางการศึกษา: หลักการ+แนวปฏิบัติ ประกอบด้วย 5 ตอน 22 บท
ตอนที่ 1 ความหมายและขอบข่าย
บทที่ 1 ลักษณะของเทคโนโลยีทางกศ.
1.2 มโนมติของเทคโนโลยีทางกศ.ในทัศนะทางวิทยาศาสตร์กายภาพ
1.3 มโนมติของเทคโนโลยีทางกศ.ในัศนะทางพฤติกรรมศาสตร์
1.4 เทคโนโลยีทางกศ.ในทัศนะใหม่
1.5 ลักษณะของนวกรรมทางกศ.
1.6 ต.ย.นวกรรมทางกศ.
1.7 เทคโนโยลีกับนวกรม
1.8 เทคโนโลยีทางกศ.กับกศ.
1.1 ลักษณะของเทคโนโลยีทางกศ.
บทที่ 2 ขอบข่ายของเทคโนโลยีทางกศ.
2.1 องค์ประกอบของเทคโนโลยีทางกศ.
2.2 ผู้เรียน
2.3แหล่งการเรียน
2.4 การพัฒนาแหล่งการเรียน
2.5 การจัดการ
2.6 องค์ประกอบย่อยของเทคโนโลยีทางกศ.
2.7 การจำแนกรายละเอียดเกี่ยวกับตัวผู้เรียน
2.8 การจำแนกรายละเอียดเกี่ยวกับแหล่งการเรียน
2.9 การจำแนกรายละเอียดเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งการเรียน
2.10 การจำแนกรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดการในเทคโนโลยีทางกศ.
ตอนที่ 5 การวิจัยเทคโนโลยี+นวกรรมทางกศ.
บทที่ 21 ผลการวิจัยสื่อ+นวกรรมทางกศ.
21.1 ผลการวิจัยสื่อ
21.2 การวิจัยวิทยุ+การบันทึกเสียง
21.3 การวิจัยโทรทัศน์ศึกษา
21.4 การวิจัยเกี่ยวกับภาพยนตร์
21.5 ผลการวิจัยภาพนิ่ง
21.6 ผลการวิจัยวัสดุ 3 มิติ
21.7 ผลการวิจัยการศึกษานอกสถานที่
21.8 ผลการวิจัยนวกรรมทางกศ.
21.9 การวิจัยเกี่ยวกับการสอนแบบจุลภาค
21.10 การวิจัยการสอนแบบโปรแกรม
บทที่ 19 แบบแผนการวิจัย
19.1 แนวการวิจัยเทคโนโลยีทางกศ.
19.2 แบบแผนการวิจัย
19.3 กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ
19.4 การวิจัยเชิงปริมาณ
19.5 ต.ย.หลักการเขียนหัวข้อการวิจัยสื่อ
19.6 ต.ย.ปัญหาประเภทข้อมูล
19.7 ต.ย.ปัญหาประเภทกระบวนการ
19.8 ต.ย.ปัญหาประเภทผลลัพธ์
บทที่ 20 ลักษณะการวิจัยสื่อ+นวกรรมทางกศ.
20.1 ลักษณะของการวิจัยสื่อ
20.2 ลักษณะการวิจัยนวกรมทางกศ.
20.3 แนวการพิจารณางานการวิจัย
บทที่ 22 การศึกษาเฉพาะกรณี: ประมวลบทคัดย่อการวิจัยสื่อ+นวกรรมทางกศ.
ตัวอย่างงานวิจัย
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของการเรียนรู้โดยใช้หุ่นจำลอง+แผนภูมิแบบอธิบายภาพในการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย (มั่นใจ จรัสรุ่งรวีวร, 2516)
การศึกษาผลกาสอนแบบการรับรู้ด้วยวัสดุ 3 มิติในระดับอนุบาล (นิพนธ์ คงเจริญ, 2515)
การศึกษาเปรียบเทียบผลทางการเรียนรู้ของการใช้อักษรสีน้ำเงิน สีเขียว และสีดำบนพื้นสีขาวกับนร.ที่จบชั้นประถมปีที่ 1 (วรรณี แย้มประทุม, 2513)
การศึกษาแบบ สี และขนาดของภาพประกอบแบบเรียนที่นร.ชั้นประถมศึกษาตอนปลายชอบ (วุฒิ แตรสังข์, 2514)
การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาสุขศึกษาในระดับชั้นประถมปลายโดยใช้สไลด์ประกอบเทปสอนด้วยวิธีต่าง ๆ (ไพโรจน์ เบาใจ, 2516)
การศึกษาเปรียบเทียบผลการเรียนรู้เรื่องการวางแผนครอบครัวจากการใช้ภาพยนตร์ฟิล์มสตริป+สมุดลำดับภาพของนศ.ระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูงปีที่ 1 ปีการศึกษา 2514 (เผชิญ กิจระการ, 2515)
การศึกษาผลการสอนวิธีสร้างความคิดรวบยอดด้วยสื่อหลายชนิด (Multi Media) ในระดับอนุบาล (บัณฑูร ชื่นพัฒนพงศ์, 2515)
ตอนที่ 2 หลักการทฤษฎีพ.ฐ.+พัฒนาการของtechทางกศ.
บทที่ 3 เทคโนโลยีทางกศ.: ยุคเริ่มแรก-คศ.1700
3.1 จากการถ่ายทอดสัญลักษณ์สู่วิธีสอนที่ทันสมัย
3.2 เกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาเลือกเทคโนโลยีทางกศ.
3.3 โซฟิสต์: กลุ่มผู้บุกเบิกเทคโนโลยีทางกศ.
3.4 วิธีการของโสเครติส
3.5 อเลลาร์ด: ผู้บุกเบิกการสอนระบบโรงเรียน
3.6 เทคโนโลยีทางกศ.ของคอมินิอุส
บทที่ 4 เทคโนโลยีทางกศ. ค.ศ.1700-1900
4.1 วิธีสอนของแลงคาสเตอร์
4.2 จิตวิทยาของเปสตาลอสซี
4.3 เทคโนโลยีทางกศ.ของฟรอเบล
4.4 เทคโนโลยีทางการศึกษาของแฮร์บาร์ท
บทที่ 5 เทคโนโลยีทางกศ. ค.ศ.1900-ปัจจุบัน
5.1 ธอร์นไดค์กับเทคโนโลยีทางกศ.
5.2 ทฤษฎีการสอนตามทัศนะของดิวอี้+คิลแพททริก
5.3 วิธีสอนของมอนเตสซอรี
5.4 ทฤษฎีสนาม+เทคโนโลยีทางกศ.ของเลวิน
5.5 เทคดนโลยีทางกศ.ของสกินเนอร์
5.6 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเปียเจต์
5.7 ทฤษฎีของเปียเจต์: หลักการพ.ฐ.ของเทคโนโลยีทางกศ.
5.8 ทฤษฎีทางกศ.+การสอนของบรุนเนอร์
5.9 เทคโนโลยีทางกศ.ตามแนวคิดของบรุนเนอร์
ตอนที่ 3 หลักการทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีทางกศ.ปัจจุบัน
บทที่ 6 ปรัชญา+objของกศ.กับเทคโนโลยีทางกศ.
6.1 ปรัชญากศ.กับเทคโนโลยีทางกศ.
6.2 จุดมุ่งหมายทางกศ.
6.3 พุทธิพิสัย
6.4 จิตพิสัย
6.5 ทักษะพิสัย
6.6 จุดมุ่งหมายของกศ.กับเทคโนโลยีทางกศ.
บทที่ 7 ทฤษฎีการเรียนรู้กับเทคโนโลยีทางกศ.
7.1 ทฤษฎีการเรียนรู้กับเทคโนโลยีทางกศ.
7.2 กลุ่มความรู้นิยม
7.3 กลุ่มพฤติกรรมนิยม
7.4 ทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่
7.5 การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ในเทคโนโลยีทางการศึกษา
บทที่ 8 การสื่อสารกับเทคโนโลยีทางกศ.
8.1 ความหมายของการสื่อสาร
8.2 ประเภทของการสื่อสาร
8.3 หลักการสื่อสาร
8.4 กระบวนการสื่อสาร
8.5 อุปสรรคในการสื่อสาร
8.6 การสื่อสารกับเทคดโนโลยีทางกศ.
8.7 โสตทัศนะกับเทคโนโลยีทางกศ.
บทที่ 9 วิธีระบบกับเทคโนโลยีทางกศ.
9.1 ความหมายของระบบ
9.2 ลักษณะองค์ประกอบของระบบ
9.3 การวิเคราะห์ระบบ
9.4 วิธีระบบกับระเบียบวิธีวิทยาศาสตร์
9.5 วิธีระบบกับเทคโนโลยีทางกศ.
9.6 ประโยชน์ของวิธีระบบ
บทที่ 10 ระบบการสอนกับเทคโนโลยีทางการสอน
10.1 ระบบกศ.
10.2 ยุทธศาสตร์ระบบในกศ.
10.3 ระบบการสอนเทคโนโลยีทางการสอน
10.4 การออกแบบระบบการสอน
10.5 ต.ย.การออกแบบระบบการสอน
10.6 หลักการใช้ระบบการสอน
10.7 ความแตกต่างระหว่างการสอนแบบธรรมดากับการใช้วิธีระบบในการสอน
ตอนที่ 4 เทคโนโลยีทางกศ.ในเชิงปฏิบัติ
บทที่ 11 สื่อการสอน
11.1 ความหมาย
11.2 ทัศนะทั่วไปเกี่ยวกับสื่อ
11.3 ความสัมพันธ์ระหว่างสื่อกับหลักสูตร
11.4 สื่อในทัศนะการสอน
11.5 คุณค่าของสื่อการสอน
11.6 ประเภทของสื่อการสอน
11.7 กรวยประสบการณ์
11.8 ข้อคิดในการนำกรวยปสก.ไปใช้
11.9 หลักการสอนวิธีอ่านภาพ
11.10 หลักการฝึกลักษณะนิสัยในการฟัง
บทที่ 12 ระบบการใช้สื่อการสอน
12.1 หลัก 6 ประการเกี่ยวกับการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับการใช้สื่อการสอน
12.2 หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการใช้สื่อการสอน
12.3 สรุปหลักการใช้สื่อการเรียนการสอนในห้องเรียน
12.4 ระบบการใช้สื่อการสอน
12.5 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใช้สื่อกรกส.
บทที่ 13 หลักการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการเรียนการสอน
13.1 การวางโครงการปรับปรุงห้องเรียน
13.2 การจัดที่นั่ง+พื้นที่ห้องเรียนให้กว้างสำหรับการสอนแบบต่าง ๆ
13.3 การแก้ปัญหาสำหรับสถานที่เก็บสื่อการสอน
13.4 การใช้ฉากกั้นพื้นที่ในห้อง+ใช้พืนที่วางบนฉากกั้นให้เป็นประโยชน์
13.5 การเตรียมห้องเรียนสำหรับการฉาย
13.6 การจัดบริเวณสำหรับการค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง
13.7 การจัดบริเวณสำหรับการเรีนเป็นกลุ่มย่อย+การสัมมนา
13.8 การจัดความสะดวกในกศ.นอกสถานที่
13.9 ปัญหาต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในการจัดห้องเรียน
บทที่ 14 ระบบการสอนแบบเอกัตบุคคล
14.1 ความหมาย
14.2 ประเภทของความแตกต่างระหว่างบุคคล
14.3 ธรรมชาติ+ลักษณะของการสอนแบบเอกัตบุคคล
14.4 ความมุ่งหมายของการสอนแบบเอกัตบุคคล
14.5 ประเภทของการสอนแบบเอกัตบุคคล
14.6 การสอนแบบเอกัตบุคคลแตกต่างกับการสอนแบบธรรมดาอย่างไร
14.7 ระบบการสอนแบบเอกัตบุคคล
14.8 ข้อดีของการสอนแบบเอกัตบุคคล
บทที่ 15 เทคโนโลีทางการสอนแบบเอกัตบุคคล
15.1 การสอนแบบโปรแกรม
15.2 ความมุ่งหมายของการสอนแบบโปรแกรม
15.3 หลักการ+ทฤษฎีพ.ฐ.
15.4 บทเรียนโปรแกรม
15.5 หลักการสร้างบทเรียนโปรแกรม
15.6 ข้อดี+ข้อจำกัดของบทเรียนโปรแกรม
15.7 ชุดการสอน
15.8 หลักการ+เหตุผล
15.9 ประเภทของชุดการสอน
15.10 ชุดการสอนสำหรับศูนย์การเรียน
15.11 หลักการ+ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับชุดการสอน
15.12 ชุดการสอนย่อย
15.13 โครงสร้างของชุดการสอนย่อย
15.14 การจัดตารางสอนแบบยืดหยุ่น
15.15 หลักการจัดตารางสอนแบบยืดหยุ่น
15.16 ห้องเรียนแบบศูนย์การเรียน
15.17 หลักการสอนแบบศูนย์การเรียน
บบที่ 16 ไมโครคอมพิวเตอร์ในการศึกษา
16.1 ประโยชน์โดยทั่วไปของไมโครคอมพิวเตอร์
16.2 ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ในการสอน+กศ.
16.3 ลักษระ+การทำงานขอไมโครคอมพิวเตอร์
16.4 ศัพท์เทคนิคในงานคอมพิวเตอร์
16.5 การเรียนรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
16.6 ข้อควรคำนึงในการนำไมโครคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในกศ.
16.7 การเขียนโปรแกรมด้วยตนเอง
16.8 หลักการจัดหาไมโครคอมพิวเตอร์
บทที่ 17 การสอนเป็นคณะ
17.1 ประเภทของการสอนเป็นคณะ
17.2 จุดมุ่งหมายของการสอนเป็นคณะ
17.3 หลักการสอนเป็นคณะ
17.4 ประโยชน์ของการสอนเป็นคณะ
17.5 ข้อจำกัดของการสอนเป็นคณะ
บทที่ 18 การสอนแบบจุลภาค
18.1 ความเป็นมา
18.2 หลักการเบื้องต้นการสอนแบบจุลภาค
18.3 วิธีสอนแบบจุลภาค
18.4 หลักการจัดห้องสอนแบบจุลภาค
18.5 ประโยชน์ของการสอนแบบจุลภาค