Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ราชภัฏเชียงใหม่ภายใต้วิถีล้านนา - Coggle Diagram
ราชภัฏเชียงใหม่ภายใต้วิถีล้านนา
เราเป็นใคร ?
และมาจากไหน ?
ถิ่นฐานเดิมของคนไทยอยู่แถบเทือกเขาอัลไตในมองโกลเลีย
ต่อมาอพยพแถบลุ่มแม่น้าแยงซีจีนตอนใต้
และลงมาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทย
ถิ่นฐานเดิมของไทยอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของจีนแถบมณฑล
กวางตุ้ง กวางสีและยูนนาน ต่อมาถูกจีนรุกรานจนถอยร่นมาทางใต้
กระจายไปตามถิ่นฐานต่างๆหลายทิศทาง
คนไทยอยู่ทางใต้ของลุ่มแม่น้าแยงซีเกียงร่วมกับกลุ่มชนต่างๆชนชาติไทยได้อพยพมาทางใต้อย่างเป็นระยะมาตั้งหลักฐานอยูที่มณฑลยูนนานก่อนจะมาอยู่ในดินแดนที่เป็นประเทศไทย
ถิ่นฐานเดิมของคนไทยอยู่ทางตะวันตกของมณฑลเสฉวนต่อมาถอยมาทางใต้และตั้งอาณาจักรน่านเจ้าขึ้นในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 12และเมื่อถูกจีนรุกรานจึงเคลื่อนมาทางใต้ตั้งถิ่นฐานในคาบสมุทรอินโดจีน
กําเนิดล้านนาและการสรา้งเมืองเชียงใหม่
สร้างเชียงใหม่ขึ้นเมื่อ พ.ศ 1839 นับถึงปีจจุบันก็ได้ 724 ปี
แต่เมื่อนับเชื่อสายของพระเจ้ามังรายที่ครองเชียงใหม่ก็ได้ 262 ปี
พระเจ้ามังรายทรงทาสงครามแผ่ราชอาณาจักรเพื่อรวมไทยภาคเหนือเข้าด้วยกัน ขณะเดียวกันพ่อขุนรามคาแหงผู้เป็นพระสหายก็สถาปนาอาณาจักรสุโขทัยขึ้นทางภาคกลาง และมีอาณาเขตติดต่อกัน ทั้งสองพระองค์จึงมิได้รุกรานซึ่งกันและกัน พระเจ้ามังราย ครองเมืองกุมกามอยู่จนถึง พ.ศ.1834
วันหนึ่งพระองค์เสด็จประพาสล่าสัตว์ทางทิศเหนือไปถึงเชิงดอยอ้อยช้าง (ดอยกาละ หรือ ดอยสุเทพ) ทรงประทับแรมอยู่ตำบลบ้านแหนได้3 เพลา
พระองค์ทรงทอดพระเนตรเห็นสถานที่ชัยภูมิตรงนั้นดีมาก เป็นที่ทำเลที่
เหมาะสำหรับการสร้างเมืองอยู่อาศัย
ในราตรีนี้พระองค์ทรงสุบินนิมิตว่ามีบุรุษผู้หนึ่ง(คือเทพยดาจาแลง) มาบอกกับพระองค์ว่าหากพระองค์มาสร้างเมืองอยูที่นั้นจะประสพ
ความเจริญรุ่งเรืองยิ่งนัก
ประวัติศาสตร์ล้านนา
แกนหลัก (Core Area)
เชียงใหม่-ลุ่มน้าปิง
เชียงแสน-เชียงราย-ลุ่มแม่น้ากก
อาณาบรเิวณที่ประกอบด้วยเมืองกลุ่มหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ทาง
เครือญาติหรือทางวัฒนธรรมในอดีตรัฐโบราณไม่มีอาณาเขตชัดเจน
กลุ่มเมืองล้านนาตะวันตกซึ่งเป็นแกนสาคัญเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา
ที่มีความสัมพันธ์ร่วมกันตั้งแต่สมัยราชวงศ์มังรายตอนต้น ส่วนกลุ่มเมืองล้านนา
ตะวันออกแพร่และน่านทั้งสองเมืองมีประวัติความเป็นมาคล้ายกันคือในสมัยแรก
เริ่มต่างมีฐานะเป็นรัฐอิสระ มีราชวงศ์ของตนเอง และมีความใกล้ชิดกับอาณาจักรสุโขทัย
ประวัติศาสตร์ล้านนาตามพัฒนาการ
สมัยแว่นแคว้น -นครรัฐ
ล้านนาสมัยรัฐอาณาจักร (พศ๑๘๐๔-๒๑๐๑)
ล้านนาสมัยพม่าปกครอง(พศ๒๑๐๑-๒๓๑๗)
ล้านนาสมัยเป็นเมืองประเทศราชของไทย(พศ ๒๓๑๗-๒๔๒๗)
สมัยแว่น แคว้น -นครรัฐ
ดินแดนล้านนามีรัฐต่างๆกระจายตามที่ราบระหว่างหุบเขาในภาคเหนือมีประวัติศาสตรเ์ป็นของตนเองลัวะชาวพื้นเมืองในกลุ่มมอญเขมร
ตั้งถิ่นฐานกระจายทั่วไปในภาคเหนือเป็นชนเก่าแก่ที่อยู่
มาช้านานก่อนที่ชนกลุ่มอื่นจะเข้ามาเรื่องราวการแตกสลายของชนเผ่าลัวะ
เป็นผลมาจากการขยายความเจริญรุ่งเรืองจากเมืองละโว้มาสู่การสร้างเมืองหริภุญไชย
ล้านนาสมัยรฐัอาณาจักร (สมัยราชวงศ์มังราย)
ดินแดนล้านนาได้พัฒนาการปกครองมาสู่รัฐแบบอาณาจักรโดยมีเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางรัฐ
การก่อตั้งอาณาจักรล้านนา
เป็นผลมาจากการรวมแคว้นหริภุญไชยเข้ากับแคว้นโยนในสมัยของ พระยามังรายปฐมกษัติรย์แล้วสถาปนาเมืองเชียงใหม่ขึ้นเป็นศูนย์กลาง
มีเป้าหมายเพื่อให้เป็นสถาบันทางการเมืองที่ทาหน้าที่เป็นศูนย์กลาง อาณาจักรทั้งเรื่องการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
ล้านนาสมัยพม่าปกครอง
ล้านนาตกเป็นเมืองขึ้นพม่าตั้งแต่สมัยพระเจ้าบุเรงนอง (พ.ศ.๒๑๐๑) จนถึง พ.ศ.๒๓๑๗
ในช่วงเวลาดังกล่าวส่วนใหญ่พม่าปกครอง
แต่จะมีบางช่วงที่อยุธยายกทัพ ขึ้นมายึดเชียงใหม่ได้
ล้านนาในสมัยพม่าปกครองเป็นช่วงเวลาที่ยาวนานถึง ๒๑๖ ปี นโยบายของพม่าที่ปกครองล้านนาได้ปรับเปลี่ยนไปตามเงื่อนไขการ
เมืองภายในของพม่าและปรับตามสภาพการเมืองในท้องถิ่นล้านนา
ล้านนาสมัยเป็นเมืองประเทศราชของไทย
หลังจากเสรจ็สงครามขับไล่พม่าออกจากเชียงใหม่ พ.ศ.๒๓๑๗ แล้ว พระเจ้าตากสินทรงตอบแทนความดีความชอบโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง
“พระญาจ่าบ้าน” (บุญมา) เป็นพระยาวิเชียรปราการครองเมืองเชียงใหม่
พระเจ้ากาวิละครองเมืองลำปาง
เมื่อพระญาจ่าบ้านเสียชีวิตลงพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจึงทรงโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งพระเจ้ากาวิละเป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่แทน
เชียงใหม่ในสมัยพระเจ้ากาวิละจึงมีความเจริญมั่นคงเป็นปึกแผ่น และเป็นศูนย์กลางของล้านนาที่เข้มแข็งหลังจากสมัยพระเจ้ากาวิละก็มีเจ้าเมืองปกครองต่อมารวมทั้งสิ้นราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน มี ๙ องค์
กลุ่มชาติพันธุ์ในล้านนา
ลัวะ
ไทใหญ่
ไทยวน
ไทลื้อ
ไทเขิน