Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Schizophrenia, นางสาวอนิสร ฦาแรง 62170076 - Coggle Diagram
Schizophrenia
-
การดำเนินโรคและการรักษา
ระยะเริ่มมีอาการ (prodromal phase) อาการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป แต่มักมีปัญหาในด้านหน้าที่ความรับผิดชอบหรือด้านสัมพันธภาพกับผู้อื่นเริ่มแย่ลง การเรียนหรือการทำงานเริ่มไม่ดี แยกตัวเก็บตัวอยู่แต่ในห้อง
ระยะอาการกำเริบ (active phase) อาการกาเริบมากขึ้น โดยส่วนใหญ่มักเป็นกลุ่มอาการด้านบวก การรักษาเพื่อ
ป้องกันการกำเริบของโรคจิตเภทที่ได้ผลดี คือ การใช้ยา
ระยะอาการหลงเหลือ (residual phase) อาจพบว่าผู้ที่เป็นโรคจิตเภทจะมีอารมณ์ที่ราบเรียบ พูดน้อยแยกตัวเองอาการประสาทหลอนหรือหลงผิดยังมีอยู่ เช่น มีความเชื่อแปลกๆ ฝังแน่น มีพฤติกรรมแปลกๆ
การรักษาด้วยยา
ยาต้านโรคจิตกล่มดั้งเดิม ฟีโนไทอะซิน (phenothiazine) บิวทีโรฟี โนน (butyrophenone)
ยาต้านโรคจิตกล่มใหม่ โคลซาปีน (clozapine) ยาริสเพอร์ริดอล (risperidone) ยาโอแลนซาปีน (olanzapine)และยาคิวเทียปีน (quetiapine)
การรักษาด้วยไฟฟ้า ECT
ที่กระตุ้นให้เกิดภาวะชักด้วยกระแสไฟฟ้าจำนวนจำกัดผ่านเข้าสู่สมอง
ระยะเวลาจำกัด มีผลทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนการทำงานในสมอง ที่จะมีผลต่อการปรับอารมณ์ ความคิด ส่งผลให้อาการทางจิตทุเลาลงได้
-
-
-
ลักษณะอาการของโรคจิตเภท
อาการทางด้านบวก
2.Hallucinations คือ ความผิดปกติของการรับรู้ด้วยประสาททั้ง 5
คือ ตา หู จมูก ลิ้น ผิวหนังโดยไม่มี Stimuli มากระตุ้นผู้ป่วยจะมี
ความเชื่อเป็นอย่างมาก ไม่สามารถอธิบายได้โดยใช้เหตุผลความเป็นจริง
3.disorganized speechมีอาการของความผิดปกติทางการพูด ลักษณะการพูดจาสับสน พูดคนเดียวเป็นเรื่องเป็นราวในขณะที่คนอื่น ๆฟังไม่เข้าใจ เนื้อหาสาระของเรื่องที่พูดจับใจความไม่ได้
4.มีพฤติกรรมแปลกๆ แบบว้าวุ่นสับสน เป็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมไม่มีจุดมุ่งหมาย หรือ ไม่เหมาะสมตามกาลเทศะเช่น ไม่สวมเสื้อผ้า หรือ ใส่หลายๆตัวซ้อนกันแบบไม่เหมาะสม หรือ ยิ้มหัวเราะคนเดียว
- Delusion อาการหลงผิด ซึ่งอาการหลงผิดที่พบได้บ่อยของผู้ที่เป็นโรคจิตเภท คือคิดว่าตนเองมีคนคอยปองร้ายและคิดว่ามีคนอื่นพูดเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับตนเอง
-
การจำแนกโรค
DSM-5
-
-
3.Paranoid type ลักษณะสำคัญทางคลินิก คือ มีความหมกมุน
อยูกับอาการหลงผิดหรือหูแวว เป็นชนิดที่พบบ่อยที่สุด
4.Undifferentiated type เป็นผู้ป่วยที่มีอาการเข้ากันได้กับโรคจิตเภท
แต่ไม่สามารถจัดกลุ่มได้อย่างชัดเจนว่าเป็นชนิดใดใน ๓ ชนิดข้างต้น
5.Residual type ผู้ป่วยเคยมีอาการกำเริบชัดเจนอย่างน้อย ๑ ครั้ง
แต่ในขณะที่ประเมินไม่พบอาการด้านบวก ส่วนใหญ่เป็นอาการด้านลบ
ผู้ป่วยกลุ่มนี้อาจเรียกอีกอย่างวาเป็นกลุ่ม In-partial remission
ICD-๑๐
-
2.Hebephrenic schizophrenia (F ๒๐ .๑) เป็นโรคจิตเภทชนิดหนึ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์เป็นอาการเด่น อาการหลงผิดและประสาทหลอนจะเปนชวงสั้น ๆ
3.Catatonic schizophrenia (F๒๐ .๒) คือการเคลื่อนไหว
ของรางกายและจิตใจผิดปกติ อาจมีการเคลื่อนไหวมาก
สลับกับอาการซึมเคลื่อนไหวนอย
4.Undifferentiated schizophrenia (F ๒๐ .๓) เป็นสภาวะเข้าได้กับเกณฑทั่วไป Post-schizophrenic depression (F ๒๐ .๔)
เป็นสภาวะซึมเศร้าที่อาจจะเป็นนานและเกิดตามหลังโรคจิตเภท
5.Post-schizophrenic depression (F ๒๐ .๔) เป็นสภาวะซึมเศร้าที่อาจจะเป็นนานและเกิดตามหลังโรคจิตเภทอาการเหล่านี้อาจเป็นแบบอาการ
ด้านบวกหรือด้านลบก็ได้ แต่ส่วนใหญ่พบอาการด้านลบมากกว่า
6.Residual schizophrenia (F ๒๐ .๕) เป็นโรคจิตเภทที่มีลักษณะเรื้อรัง
มีอาการของโรคจิตเภทตั้งแต ๑ ครั้งขึ้นไป ถึงระยะท้ายอย่างชัดเจน
7.Simple schizophrenia (F ๒๐ .๖) เป็นโรคที่พบได้ไม่บ่อย
อาการค่อยเป็นค่อยไปแต่ดำเนินไปเรื่อย ๆ ผู้ป่วยที่มีพฤติกรรม
ที่แปลกประหลาด ไม่สามารถทำตามสิ่งที่สังคมต้องการ
ความหมาย
โรคที่มีความผิดปกติด้านการรับรู้ ด้านความคิด ส่งผลให้พฤติกรรมและบุคลิกภาพ รวมถึงการแสดงออกทางอารมณ์ไม่เหมาะสมในขณะที่ระดับสติสัมปชัญญะและระดับเชาว์ปัญญาเป็นปกติ ต้องมีอาการในระยะเวลา 6 เดือนขึ้นไป
-