Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 ความเป็นมาของ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ - Coggle Diagram
บทที่1
ความเป็นมาของ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ค่านิยมหลัก
U Unity
ด้วยจิตอาสาพัฒนาสถาบันเป็นหนึ่งเดียว
R Royal
น้อมนําพระราชดําริมาปฏิบัติเพื่อพัฒนาสังคม
AM Morol
สร้างบัณฑิตดีสู่สังคมไทยด้วยอุดมการณ์แห่งศิลธรรม
C community
สถาบันอุดมปัญญาเพื่อพัฒนาท้องถิ่นให้ก้าวไกล
ประวัติ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ได้พัฒนามาจากโรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรม
ประจํามณฑลพายัพ
ซึ่งสถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ.2467
โดยได้มีการพัฒนา
และปรับเปลี่ยนสถาบันมาโดยลําดับเป็นระยะเวลา 96 ปี
เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์2535
พระเจ้าสมเด็จพระเจ้าอยูหัวฯ
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานนามวิทยาลัยครูทั่วประเทศ
การพัฒนาของ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
เมื่อปี 2470
ใช้โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียยบัตร
มณฑลพายัพ
เมื่อปี 2466
ใช้ชื่อโรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมประจํามณฑลพายัพ
เมื่อปี 2484
ใช้ชื่อโรงเรียนฝึกหัดครูมูลจังหวัดเชียงใหม่
เมื่อปี 2535
ใช้ชื่อสถาบันราชภัฏเชียงใหม่
เมื่อปีการศึกษา 2503
ใช้ชิ่อมหาวิทยาลัยครูเชียงใหม่
เมื่อปี 2547
ใช้ชื่อมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
อัตลักษณ์
เจตนารมณ์ในการจัดตั้ง2มหาวิทยาลัย
บัณฑิตมีทักษะชีวิต จิตสาธารณะและสู้งาน
ความสีของตราสัญลักษณ์
สีน้ำเงิน
แทนสถาบันพระมหากษัตริย์
สีเขียว
แทนแหล่งที่ตั้ง 2 ของสถานบัน 36 แห่ง
ที่อยู่ในแหล่งธรรมชาติที่ สวยงาม
สีส้ม
แทนความรุ่งเรืองทางศิลปะวัฒนธรรมท้องถิ่น
สีขาว
แทนความคิดอันบริสุทธิ์ของ
นักปราชญ์แห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัว
เสื้อครุย
ตัวเสื้อครุยทําด้วยผ้าหรือแพรสีดําเย็บเป็นเสื้อคลุม
ตัวเสื้อ ผ่าอกตลอด
แขนเสื้อกว้างและยาวยกข้อมือ แขนปล่อย มีสํารดรอบขอบ
ส่วนสํารดต้นแขนเป็นสิ่งแสดงถึงระดับปริญญาและมีเข็มตราสถาบัน
สําหรับแถบสีประจําสาขานั้นสังเกตได้ดังนี้
แถบสีฟ้า
หมายถึง
บัณฑิตสาขาวิชาครุศาสตร์
แถบสีแสด
หมายถึง
บัณฑิตสาขาวิชาศิลปศาสตร์
แถบสีเหลือง
หมายถึง
บัณฑิตสาขาวิชาวิทยาศาสตร์วัฒนาท้องถิ่น
วิลัยทัศน์และพันธกิจ
เอกลักษณ์
สถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
ปรชัญา
การศึกษาเป็นหัวใจของการพัฒนาท้องถิ่น
วิสัยทัศน์
เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนําระดับประเทศในการผลิต
และพัฒนาครูและเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
ดอกไม้ประจํามหาวิทยาลัย
ดอกเสี้ยวขาว
สีประจํามหาวิทยาลัย
ดำ
เหลือง
ชื่อย่อ
มร . ชม
CMRU