Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่8การพยาบาลผู้ป่วยที่ีพยาธิสภาพ ตา หู คอ จมูก ระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง…
บทที่8การพยาบาลผู้ป่วยที่ีพยาธิสภาพ ตา หู คอ จมูก ระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
การติดเชื้อช่องกล้ามเนื้อเคี้ยว (Masticator Space)
อาการ มีอาการบวม ขากรรไกรค้าง มีการโป่งด้านหน้าครึ่งหนึ่งของเพดานอ่อนและทอนซิล มีการเบนของลิ้นไก่ไปข้างที่ไม่ได้รับผลกระทบ
การรักษา ให้ยา PCN หรือ Clindamycin ทางหลอดเลือดดำ ทำIntraoral หรือ Extraoral
Peritonsillar abscess
สาเหตุ อีกชือเรียกว่า quinsy เกิดจากต่อมทอลซิลอักเสบจนลามไปเป็นฝี
อาการ อาการรมาด้วยไข้สูง กลืนนำ้ลายไม่ได้ อ้าปากไม่ได้ปวดหู มีHot potato voice มักพบบวมบริเวณต่อมทอลซิลข้างเดียว
การรักาษา การให้ยาต้านเชื้อชนิดฉีดด้วย Penicillin หรือ erythromycin, cefoxitin, amooxicillin-clavulanic acid,clindamycin ในกรณีฝีก็ต้องกรีดเอาหนองออกหรือบางรายอาจต้องทำ tonsillectomy
Angioedema
อาการ บวมมใต้ชั้นผิวหนัง ซึ่งชอบเกิดบริเวณเนื้ออ่อน เช่น หนังตา ริมฝีปาก เป็นต้น
สาเหตุ มักเกิดตามการเป็นโรคภูมิแพ้เป็นปฏิกิริยาตอบสนองของระบบภุมิคุ้มกันหรือกระบวนการอัเสบที่ผิดไปจากปกติ
การรักษา ยา Antihistamin,steroid และ doxepin
เหงือกอักเสบแบบเนื้ตาบเฉียบพลัน (Acute necrotizing gingvitis ANUG)
สาเหตุ เชื้อที่เป็นสาเหตุ fusiform bacilli และ spirochete
อาการ ไข้ อ่อนเพลีย และมีกลิ่นปากเหม็นมีอาการอักเสบอย่างรุนแรงและเฉียบพลันของเหงือกและพบว่ามีผ้าสีเทา
การรักษา ให้ยาลดไข้,อาหารเหลว,บ้วนปาก ตอนเช้า ตื่นนอน,ยา antibiotics (clindamycin,tetracycline)
มะเร็งกล่องเสียง
การรักษา
การรรักษาระยะลุกลาม ระยะที่3และระยะที่4ซึ่งยังไม่มีการแพร่กระจายเข้ากระแสโลหิต จะใช้การรักษาร่วมกันหลายๆวิธีเช่น การผ่าตัดกล่องเสียงออกทั้งหมด
ถ้าเป็นระยะแรกเริ่ม ระยะที่1และระยะที่2 จะรักษาโดยการฉายรังสีหรือผ่าตัด วิธีใดวอธีหนึ่งเพียงวิธีเดียวเพราะให้ผลการรักษาได้เท่าเที่ยมกันแต่การฉายรังสีรักษาสามารถรักษามะเร็งกล่องเสียงให้หายขาดได้
มะเร็งกล่องเสียงที่พบได้บ่อยที่สุด squamous cell carcinoma
สาเหตุ
การสูบบุหรี่ การเผาไหม้ของบุหรี่ทำให้เกิดสารก่อมะเร็งพบว่าปัจจัยนี้เป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่สุด
ดื่มสุรา แอลกอฮอล์สามารถไปกระตุ้นเยื่อบุของกล่องเสียง
มลพิษทางอากาศ การสูดดมอากาศที่เป็นพิษ เช่น ก๊าซชัลเฟอร์ไดออกไซด์ และฝุ่น ควัน สารเคมีจากโรงอุตสาหกรรม
ออรืโมนเพศ ผลการทดลองที่เกี่ยวข้องแสดงให้เห็นว่าผู้ป่วยมะเร็งกล่องเสียงจะมีเซลล์ตัวรับสัญญาณเอสโตรเจนรีเซบเตอร์เพิ่มสูงขึ้น
การฉายรังสี การรักษาโรคโดยการฉายรังสีก้อนเนื้อบริเวณคอ
คออักเสบ หรือ คอหอยอักเสบ
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อโดยส่วนใหญ่ จากเชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีสาเหตุอื่นๆที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ เช่น การสูบบุหรี่ โรคกรดไหลย้อน สารก่อภูมิแพ้
อาการ
คออักเสบจากเชื้อเเบคทีเรีย จะไม่เจ็บคอตอนกลืนร่วมกับมีอาการหวัด นำ้มูกไสไหล ไอ มีไข้ตำ่ คออักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย จะมีอาการเจ็บคอมากจยกลืนนำ้และอาหารลำบากมักจะไม่มีอาการนำ้มูไหล ไอ มีไข้สูง
การรักษา
ติดเชื้อไวรัส รักษาประคับประคองตามอาการดังกล่าวร่วมไปกับการให้รับประทานยาปฏิชีวนะ
โรคกล่องเสียงอักเสบ
สาเหตุ
การติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส เชื้อราหรือเชื้อวัณโรค
การได้แรงกระแทกบริเวณกล่องเสียง
การใช้เสียงที่ผิดวิธีจนติดเป็นนิสัย เช่น ชอบตะโกน
การระคายเคืองเรื้อรัง เช่น จากการไอเรื้อรัง
การรักษา
ถัาเกิดจากไวรัส เช่น ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ จะหายาบรรเทาาตามอาการ
ถ้าเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เสมหะข้นเหลือง หรือเขียวหรือมีทอลซอลอักเสบบวมแดง จะให้ยาต้านจุลชีพ
ถ้ามีตุ่มที่สายเสียง อาจจะแนะนำการผ่าตัดเอาตุ่มออกแพทย์อาจให้รับประทานยาสเตียรอยด์ระยะสั้นๆ เพื่อลดอาการบวมและการอักเสบของสายเสียง
อาการ
เสียงแหบ บางรายอาจเป็นมากจนถึงขั้นไม่มีเสียงอาจมีอาการหลังเป็นไข้หวัด เข็บคอ คอแห้ง รู้สึกคล้ายมีอะไรอยู่ในคอ กลืนลำบาก กลืนเจ็บ
โรคใบหน้าอัมพาตครึ่งซีก
สาเหตุ มีสมมุติฐานว่าเกิดจากร่างกายที่อ่อนแอ พักผ่อนไม่เพรบงพอมีภาวะเครียดทำให้ร่างกายติดเชื้อไวรัสทำให้เส้นประสาทหรือปลายประสาทคู่ที่7อักเสบและบวม
การรักษา ให้ยากลุ่มสเตียรอยด์ ยากลุ่มต้านไวรัส นำ้ตาเทียมหรือขี้ผึ้งป้ายตาและที่ครอบตาเนื่องจากผู้ป่วยปิดตาไม่สนิท อาจทำให้ตาแห้งและเกิดอันตรายได้ การฝังเข็ม
ภาวะความผิดปกติของข้อต่อขากรรไกร
สาเหตุ 1.ตัวแผ่นหมอนรองกระดูกมีการสึกกร่อนหรือเคล่อนตัวออกนอกตำแหน่ง 2.กระดูกอ่อนของข้อต่อถูกทำลายจากภาวะข้อเสื่อม 3.ข้อต่อถูกกระทบกระเทือนจากปัจจัยภายนอก
อาการ เจ็บหรือปวด บริเวณข้อต่อขากรรไกรข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้าง เคี้ยวอาหารลำบากหรือมีอาการเจ็บเวลาเคี้ยว มีภาวะติดขัดของข้อต่อขากรรไกรซึ่งอาจเป็นได้ทั้งอ้าปากหรือปิดปากไม่ได้ก็ได้
การรักษา
การใช้ยาแก้ปวด ยาลดการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
การใช้ยาคลายกังวล
ยาคลายกล้ามเนื้อ
การล้างเข้าไปในข้อต่อขากรรไกร การใสเข็มเข้าไปล้างข้อต่อขากรรไกรเพื่อกำจัดเศษเนื้อเยื่อตาย
การฉีดยาเข้าข้อต่อ/กล้ามเนื้อ
การผ่าตัดข้อต่อขากรรไกรแบบสองกล้อง เป็นการผ่าตัดโดยการส่องกล้องขนาดเล็กและอุปกรณ์ผ่าตัดเข้าไปในช่องว่างข้อต่อขากรรไกรเพื่อทำการวินิจฉัยและรักษาโรค
ภาวะทางเดินหายใจอุดกลั้น
สาเหตุ ร่างกายสร้างเสมหะมาก มีภาวะติดเชื้อหรือภาวะขาดนำ้ ไอไม่มีประสิทธิภาพ
การรักษา
จัดท่านอนศรีษะสูง
การสอนเทคนิคการหายใจให้มีประสิทธิภาพ
การให้ออกซิเจนและดูดเสมหะ
การให้ละอองไอนำ้และความชื้น
เสียงผิดปกติ Aphonia,stridor,Wheezing
การอักเสบของฝาปิดกล่องเสียงอย่างเฉียบพลัน
สาเหตุ ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
อาการ เจ็บคออ กลืนลำบาก นำ้ลายไหล ต่อมามีไข้สูงหายใจดังและหายใจบลำบากมาก ผู้ป่วยมักอยู่ในท่านังนอนตัวไปข้างหน้า เพื่อช่วยให้การหายใจดีขึ้นโรคมักลุกลามขึ้นอย่างรวดเร็วจนทำให้เกิดอาการของการอุดกลั้นทางเดินหายใจส่วนต้นอย่างรุนแรงภายใน 24 ชั่วโมงและอาจอันตรายถึงชีวิตได้
การรักษา ควรพิจารณราใส่ท่อหลอดลมคอโดยผู้ชำนาญที่สุดและเครื่องมือพร้อมที่จะเจาะคอในกรณีที่ไม่สามารถใส่ท่อหลอดลมคอได้ ควรให้ออกซิเจนที่มีความชื้น ให้สารนำ้ทางหลอดลมและยาปฏิชีวนะที่เหมาะสม
ไซนัสอักเสบ
ไซนัสอักเสบเฉียบพลัน
การพยาบาล ทำได้โดยการล้างจมูกด้วยนำ้เกลือ ดังนี้
1.หาซื้อนำ้เกลือตามร้านขายยาหรือผสมเองโดยใช้นำ้สะอาด 750cc.ผสมกับนำ้เกลือ1ช้อนชา
2.ดูดนำ้เกลือจากแก้วสะอาดเข้าในลูกยางหรือหลอดฉีดยา
3.พ่นนำ้เกลือลูกยางหรือหลอดฉีดยาเข้าในจมูกในท่าก้มหน้า กลั้นหายใจในระหว่างฉีดนำ้เกลือเข้าสู่จมูก
4.ทำซำ้จนนำ้มูกหมด ปฏิบัติวันละ2-3ครั้้งตามคำแนะนำของแพทย์
อาการ ไข้ ปวดศรีษะหรือปวดไซนัส นำ้มูกเหลืองเขียวข้น ปวดจมูก ปวดกระบอกตา แก้มข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้างอาจปวดขากรรไกรหรือฟันร่วมด้วย
ลักษณะ ติดเชื้อนาน3สัปดาห์-3เดือนซึ่งมักเกิดหลังการเป็นหวัดและสามารถหายเองได้ภายใน7วัน
การรักษา ให้ยาหยอดหรือยาพ่นที่ทำให้หลอดเลือดหดตัว ดื่มนำ้มากๆ พักผ่อนให้เพียงพอ
ไซนัสอักเสบเรื้อรัง
สาเหตุ การรักษาไซนัสเฉียบพลันไม่ได้ผล หนรือไม่ได้รับการรักษาหรือเป็นซำ้ๆ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา ฟันกรามบนผุเหงือกอักเสบ
ลักษณะ มักเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เป็นการอักเสบของไซนัสที่มีการติดเชื้อนานกว่า3เดือน
การรักษา ให้ยำ้ Antihistamine, Decongestant การเจาะล้างไซนัสและการผ่าตัดและให้ยาปฏิชีวนะ หลีกเลี่ยงจากควนต่างๆไอระเหยของสารเคมี อากาศร้อนหรืออากาศเย็น ลดอาการไอโดยใช้ยาละลายเสมหะและดื่มนำ้มากๆ
ริดสีดวงจมูก
สาเหตุ การอักเสบเรื้อรังและการติดเชื้อซึ่งกลับเป็นซำ้บ่อยๆ ความผิดปกติของการตอบสนองของระบบประสาทที่ควบคุมการทำงานของหลอดเลือด ความผิดปกติของกระแสลมที่ผ่านเข้าไปบริเวณซึ่งเป็นต้นตอของริดสีดวงจมูก
อาการ เมื่อริดสีดวงจมูกมีขนาดโตขึ้นจะทำให้ผู้ป่วยมีอาการคัดแน่นจมูกซึ่งจะเป็นมากขึ้นเรื่อยๆอาจมีอาการจามหรือนำ้มูกได้ซึ่งอาจมีลักษณะใส ขุ่นข้นเหนียวหรือมีสีเหลืองเขียว ผู้ป่วยอาจได้รับกลิ่นน้อยลงหรือไม่มีกลิ่น
การรักษา การผ่าตัดเอาริดสีดวงจมูกออกแบบธรรมดา การผ่าตัดริดสีดวงจมูกและไซนัสด้วยการใช้กล้อง
เลือดกำเดาไหล
สาเหตุ จากการระคายเคืองหรือบาดเจ็บต่อเยื่อบุจมูก ได้แก่การเเคะจมูกการสั่งนำ้มูกแรงๆ การอักเสบในช่องจมูกได้แก่ภาวะติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนหรือโรคแพ้อากาศ เนื้องอกในจมูกหรือโพรงอากาศข้างจมูก โรคทางระบบอื่นๆได้แก่โรคเลือดที่ทำให้เลือดออกง่าย
อาการ เลือดออกจากผนังกลั้นจมูกส่วนหน้ามักพบในเด็กและคนหนุ่มสาว เลือดออกจากผนังกลั้นจมูกส่วนกลังมักพบในผู้สูงอายุในผู้ป่วยที่มีโรคความดันโลหิตสูงโรคหัวใจและหลอดเลือด
การรักษา การรักษาขั้นต้นให้ผู้ป่วยก้มหน้าลงแล้วใช้นิ้วชี้ละหัวแม่มือบีบปีกจมูกทั้งสองข้างให้แน่นเป็นเวลา5-10นาที กรณีเลือดไม่หยุดไหลเมื่อทำการรักษาเบื้องต้นแล้วควรรีบมาพบแพทย์