Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เเนวคิดเชิงออกแบบกับการวางแผนเเละการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาให้เกิดการพัฒ…
เเนวคิดเชิงออกแบบกับการวางแผนเเละการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาให้เกิดการพัฒนา
ที่มาและความสำคัญ
แนวคิดเชิงออกแบบ
ความเป็นมา Design Thinking
ถูกกล่าวถึงครั้งแรกเมื่อประมาณปี 1959 จากหนังสือ Creative Engineering
เดวิด เคลลี่ ทิม บราวน์และโรเจอร์ มาร์ติน
Design Thinking เป็นศาสตร์ที่พัฒนาขึ้นมาพร้อมๆ กับ Industrial Design
โรเบิร์ต แมคคิม
ความหมาย Design Thinking
(เดวิดเคลลี่ผู้ร่วมก่อตั้ง IDEO)
เป็นวิธีสร้างความคิดใหม่อย่างก้าวกระโดดนอกกรอบเดิม
(ทีมบราวน์ผู้บริหาร IDEO)
นำสิ่งที่มนุษย์ต้องการสิ่งที่เทคโนโลยีเอื้อให้เป็นจริงได้
(Murray Cox, 2016)
เป็นวิธีการทำงานที่มีมนุษย์เป็นศูนย์กลางเน้นการลงมือปฏิบัติและความร่วมมือ
(DEX Space, 2016)
สร้างไอเดีย แนวทางการแก้ไข และนำเอาแนวทางต่างๆ นั่นมาทดสอบและพัฒนา เพื่อให้ได้แนวทางหรือนวัตกรรมที่ตอบโจทย์กับผู้ใช้และสถานการณ์นั้นๆ
ความสำคัญของการคิดเชิงออกแบบ
สร้างทางออกที่เป็นนวัตกรรมก้าวกระโดดไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงเล็กๆ น้อยๆ
พัฒนาแนวทางและเครื่องมือสร้างนวัตกรรมที่เหมาะสมสำหรับองค์กร
สร้างวัฒนธรรมการคิดสร้างสรรค์และการสร้างนวัตกรรมในองค์กร
เอื้อให้ใช้ประโยชน์จากบุคลากรในองค์กรอย่างเต็มศักยภาพด้วยการร่วมมือกันทำงานเป็นทีมระหว่างคนต่างศาสตร์ในทุกระดับ
กระตุ้นการแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้และความคิดภายในองค์กร
ลดความเสี่ยงในการเปิดตัวหรือวางตลาดสิ่งใหม่ๆ
ช่วยจัดระบบการเรียนรู้และสิ่งที่เรียนรู้ในโครงการอย่างรวดเร็ว
เพิ่มและสร้างมูลค่าของนวัตกรรมให้สูงที่สุดด้วยโมเดลธุรกิจใหม่
การบริหารทรัพยากรทางการศึกษา
ความหมายการวางแผนทรัพยากรทางการศึกษา
ในประเทศ
ปัจจุบัน(พ.ศ.2564) วิเชียร ทองน้อย ทรัพยากรการบริหารการศึกษา
ความหมาย สิ่งต่างๆที่ทำให้การจัดการศึกษาบรรลุวัตถุประสงค์
ทรัพยากรพื้นฐาน 4M'S
คน (Man) บุคคลหรือกลุ่มบุคคลในองค์กรที่ทำงานร่มกัน
นักเรียน
เจ้าหน้าที่
ครู
ผู้ปกครอง
ผู้บริหาร
เงิน (Money)
งบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาล
งบประมาณสนับสนุนจากเอกชน
วัสดุสิ่งของ (Material)
ที่ดิน
วัสดุอุปกรณ์
อาคารสถานที่
การจัดการ (Management)
การจัดองค์การ
ดำเนินงานไปตามวิธีระบบการดำเนินงาน
การกำหนดทิศทางหรือเป้าหมายองค์กร
การจัดการบุคลากร
วางบุคคคลให้เหมาะสมกับงาน
จัดอบรมสร้างความเข้าใจในการดำเนินงาน
อนาคต (2564) ดร.ปุญญภณ เทพประสิทธ์
การเรียนรู้แบบผสมผสานรูปแบบ VR และ AI
ห้องเรียนเสมือนจริง
ต่างประเทศ
อดีต
ทรัพยากรทางการบริหาร 4 ประการ
เงิน
คน
วัสดุสิ่งของ
การจัดการ
ปัจจุบัน
ปัจจัยการบริหารทรัพยากรทางการศึกษา 7 ประการ
การบริการประชาชน
คุณธรรม
การบริหารทั่วไป
ข้อมูลข่าวสาร
บุคลากร
การวัดผล
เงิน
อนาคต
งานวิจัยของ Holonlg
Al มาในรูปเเบบผู้ช่วยคุณครูอัจริยะ ช่วยลดเอกสารครู
หลักการบริหารทรัพยากรทางการศึกษา
หลักการบริหารทรัพยากรระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หลักการบริหารทรัพยากร
หลักประสิทธิภาพ
เน้นกระบวนการ
ประสิทธิภาพ
ในการจัดสรร
ในการใช้
คุ้มค่า
หลักประสิทธิผล
บรรลุเป้าหมาย
วัตถุประสงค์ของหน่วยงาน
ด้านคุณธรรม
2 ประเภท
แนวราบ
นักเรียนกลุ่มและภาวะเหมือนกันได้รับการปฏิบัติเท่าเทียมกัน
แนวตั้ง
การกระทำกับนักเรียนที่แตกต่างกันออกไป
ด้านโอกาส
โอกาสที่จะได้รับเท่าๆกัน
แนวคิดทางการบริหารทรัพยากรทางการศึกษา
ปัจจุบัน
6Ms
วัสดุ สิ่งของ (Materials)
ตลาด (Market)
แหล่งเรียนรู้ในชุมชน
ผู้เรียนสามารถเรียนรู้หรือเสนอโปรโมทตัวเองได้
แหล่งเรียนรู้ทางการศึกษาที่มีความหลากหลาย
เงิน (Money)
วิธีการ (Method)
จัดทำระบบฐานข้อมูลสารสนเทศต่างๆ ในสถานศึกษา
เครื่องจักรกล (Machine)
กลไลที่มีการเปลี่ยนแปลง
การเคลื่อนที่ขององค์ความรู้ข้อมูลข่าวสาร
ไม่จำกัดสถานที่และเวลา
คน (Man)
ตัวอย่าง แนวคิดทางการบริหารทรัพยากรทางการศึกษามีแนวคิดมาจากแนวคิดทางด้านการบริหาร 6Ms
การบริหารงบประมาณเพื่อการศึกษา
การบริหารเวลาในการใช้ทรัพยากรทางการ
ศึกษา
การบริหารบุคลากรทางการศึกษา
การบริหารอาคารสถานที่
การบริหารทรัพยากรในท้องถิ่น
การบริหารสื่อทางการศึกษา
อนาคต
8Ms
การจัดการ (Management)
การสั่งงาน ควบคุมงาน ดำเนินงาน
วิธีการปฎิบัติงาน (Method)
วิธีการหรือกระบวนการบริหารระบบการจัดการศึกษา
ให้เกิดประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลตรงกับความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
วัสดุสิ่งของ (Material)
ตัวสินค้าหรือวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดการศึกษา
ตลาด (Market)
กระบวนการในการสื่อสารหรือประชาสัมพันธ์ให้ผู้ที่มีส่วนได้ส่วน เสียได้เห็นคุณค่าของการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานตามที่หน่วยงาน
เงิน (Money)
เงินหรือทรัพย์สินมีค่าที่แปรเปลี่ยนเป็นเงิน
เป็นหัวใจที่สำคัญอย่างหนึ่งของระบบ
เครื่องจักร (Machine)
เครื่องจักร อุปกรณ์ และเครื่องมือ เครื่องใช้ในการจัดการศึกษา
คน (Man)
บุคลากรหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบการจัดการศึกษา
เวลา (Minute)
ช่วงเวลา ระยะเวลา ในการดำเนินงาน
11 M
การให้บริการประชาชน (Market)
การบริหารข่าวสาร หรือ ข้อมูลข่าวสาร (Message)
การบริหารงานทั่วไป (Management)
วิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค (Method)
การบริหารงบประมาณ (Money)
การประสานงาน หรือการประนีประนอม (Mediation)
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Man)
การ บริหารคุณธรรม (Morality)
การประสานงาน หรือการประนีประนอม (Mediation)
การบริหารวัสดุอุปกรณ์ (Material)
การบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน (Minute)
ตัวอย่างแนวคิดเชิงออกแบบกับการบริหารทรัพยากรทางการศึกษา ในปัจจุบัน
ฝ่ายงบประมาณ
โครงการทฤษฎีใหม่ "ทำไมลดพื้นที่ แล้วผลผลิตยังเพิ่มอยู่"
Define
หาวิธีในการจัดสรรงบประมาณในการใช้จ่ายในโครงการเท่าที่จำเป็น
Ideate
จัดสรรงบประมาณในส่วนที่จำเป็นต้องใช้จ่ายมากที่สุด ปานกลาง และน้อยตามลำดับ
Prototype
โครงการ ควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศึกษา โรงเรียนพระอินทร์ศึกษา (กล่อมสกุลอุทิศ) จ.พระนครศรีอยุธยา
Empathize
งบประมาณที่ใช้จ่ายในโครงการ ไม่สามารถควบคุมค่าใช้จ่ายในโครงการได้
Test
ระยะเวลา 1 ธันวาคม 2564-30 กันยายน 2565
ฝ่ายวิชาการ
การพัฒนากระบวนการเรียนรู้
Ideate ระดมความคิด
การสร้างผลผลิต
Prototype สร้างต้นแบบที่เลือก
เป็นการสร้างหุ่นต้นแบบ เป็นการดำเนินการสร้างผลงานจริง จากการเลือกผลงานที่เหมาะสมที่สุดและแก้ไขจนแก้ปัญหาที่กำหนดไว้ได้ นำออกจำหน่าย หรือนำเสนอ สู่สาธารณะ
Test ทดสอบ
มีการตรวจสอบย้อนหลังสรุปโครงการ อาจจะพบข้อบ่งชี้ถึงความเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหรือความสัมพันธ์ของสมาชิกในกลุ่ม
ฝ่ายบุคคล
งานพัฒนาบุคลากร
แนวทางการประยุกต์ใช้การคิดเชิงออกแบบในการพัฒนากรอบความคิดเชิงออกแบบของครู
การสร้างความเข้าใจ (Empathize) ผู้วิจัยและผู้บริหารสถานศึกษาร่วมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ
กรอบความคิดเชิงออกแบบของครูผู้เข้าร่วมการวิจัย
การสร้างความคิด (Ideate) ผู้วิจัย ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้เข้าร่วมวิจัยร่วมกันระดม
ความคิดเพื่อหาทางออกให้กับปัญหาที่สามารถตอบโจทย์ปัญหาและความต้องการของครูผู้เข้าร่วมวิจัย
การตั้งกรอบโจทย์(Define) ผู้วิจัยและผู้บริหารสถานศึกษาร่วมวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหากรอบ
ความคิดเชิงออกแบบของครูผู้เข้าร่วมการวิจัย
การสร้างต้นแบบ (Prototype) หลังจากที่ได้แนวทางในการแก้ปัญหาของครูผู้เข้าร่วมวิจัยแล้ว ผู้วิจัยและผู้บริหารสถานศึกษาร่วมกันสร้างต้นแบบการนำการคิดเชิงออกแบบไปประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนากรอบ ความคิดเชิงออกแบบของครู
การทดสอบ (Test) ผู้วิจัยและผู้บริหารสถานศึกษาทำการพัฒนาครูผู้เข้าร่วมวิจัยตามต้นแบบที่ กำหนดให้กับครูผู้เข้าร่วมวิจัยแต่ละบุคคล สังเกต บันทึกข้อมูล รวบรวมความคิดเห็นของครูผู้เข้าร่วมวิจัย นำ ความคิดเห็นมาประเมิน ทำการปรับแก้ และกลับมาทดสอบใหม่อีกครั้ง
Empathize เข้าใจปัญหาเข้าถึงผู้คนและพื้นที่
Define ระบุความต้องการ
Ideate หาแนวทางแก้ปัญหา
Protothpe พัฒนาต้นแบบ
Test ทดสอบ
ฝ่ายบริหารทั่วไป
พัฒนาระบบการประเมินผล
การใช้ อาคารสถานที่ และแหล่งเรียนรู้ภายใน
Test (ทดสอบ)
คณะครู นักเรียน และชุมชน มีสถานที่เพียงพอในการจัดกิจกรรมต่างๆพร้อมทั้งใช้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ในห้องเรียน และนอกห้องเรียนเรียนอย่างมีความสุข
Ideate (หาแนวทางแก้ปัญหา)
หาแนวคิดและแนวทางในการแก้ไขปัญหาให้มากที่สุด หลากหลายที่สุด โดยความคิดและแนวทางต่างๆ ที่คิดขึ้นมานั้นก็เพื่อตอบโจทย์ปัญหาที่เกิดขึ้น
Prototype (พัฒนาต้นแบบทำ report วิเคราะห์ปัญหาต่างๆ)
เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมในโรงเรียนเป็นแบบอย่างที่ดีต่อชุมชน
เพื่อพัฒนาปรับปรุงระบบสาธารณูปโภค ที่ช ารุดทรุดโทรมหรืออยู่ในภาวะเสี่ยงให้มีความ
นักเรียนมีความสามารถพัฒนาอาคารสถานที่ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนให้ดียิ่งขึ้น
พัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ส่งเสริมประสิทธิภาพในการบริหารจัดการศึกษา
งานสหกรณ์โรงเรียน
ตัวอย่างเครื่องสั่งอาหาร โดย Design thinking
Empathize (เข้าใจปัญหา เข้าถึงผู้คนและพื้นที่)
ศึกษาข้อมูลของร้านและสัมภาษณ์เจ้าของร้านถึงปัญหาต่างๆ กลุ่มเป้าหมาย เพศ อายุ รายได้ ค่าใช้จ่าย จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และ อุปสรรค ซึ่งร้านยังมีปัญหาและร้านคู่แข่งเยอะ
Define (ระบุความต้องการศึกษาวิเคราะห์ปัญหาที่ได้มาและคิดวิธีการแก้ปัญหา)
ปัญหาที่รออาหารนานๆ
ยังไม่มีอะไรแปลกใหม่ ดึงดูดลูกค้า
สามารถสั่งอาหารได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น
Ideate (หาแนวทางแก้ปัญหา)
หาแนวคิดและแนวทางในการแก้ไขปัญหาให้มากที่สุด หลากหลายที่สุด โดยความคิดและแนวทางต่างๆ ที่คิดขึ้นมานั้นก็เพื่อตอบโจทย์ปัญหาที่เกิดขึ้น
Prototype (พัฒนาต้นแบบทำ report วิเคราะห์ปัญหาต่างๆ)
design brief ออกแบบ wireframe ทำ Work Flow Diagram
โดยเรานำแบบจำลองที่สร้างขึ้นมาทดสอบกับผู้ใช้ หรือกลุ่มเป้าหมาย เพื่อสังเกตประสิทธิภาพการใช้งานโดยนำผลตอบรับ ข้อเสนอแนะต่างๆ
ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเชิงออกแบบและการบริหารทรัพยากรทางการศึกษา
ช่วงที่สอง : การสร้างสรรค์ (Create)
การสร้างสรรค์ (Create) ได้แก่ การสร้างแนวคิด (Ideate) หรือ Develop
การคัดเลือก
กระบวนการที่องค์กรหรือทีมงานใช้เครื่องมือต่างๆ มาดำเนินการพิจารณาคัดเลือกเพื่อสร้างแผน
การสร้างแผน
การใช้ความคิดสร้างสรรและมุมมองจากหลายๆคนในทีมหรือองค์กร เพื่อสร้างคำตอบของแผนงานนั่นเอง
เงิน (Money)
การบริหารงบประมาณเพื่อการศึกษา
ประเภทของงบประมาณสถานศึกษา
งบประมาณแผ่นดิน
เงินนอกงบประมาณ
ช่วงที่สาม : การเตรียมส่งมอบสู่ผู้ใช้
ช่วงแห่งการทดสอบและพัฒนาเพื่อ เตรียมการส่งมอบสู่ผู้ใช้หรือการนาออกสู่ตลาด ได้แก่ การสร้างต้นแบบ (Prototype) และการ ทดสอบ (Test) หรือ Deliver
การปฏิบัติตามแผน
การพัฒนาต้นแบบเพื่อให้ได้แนวทางแผนหรือนวัตกรรมที่มีคุณภาพและมีคุณค่าต่อกลุ่มเป้าหมายอย่างแท้จริง
ประเมินแผน
การทดสอบแผนที่่ใช้ ได้ผลตรงตามเป้าหมายหรือไม่
วัสดุ สิ่งของ (Materials)
1 แหล่งทรัพยากรในท้องถิ่น
บุคคลที่สามารถให้การช่วยเหลือสถานศึกษา
มูลนิธิ สมาคม ชมรมที่สามารถช่วยเหลือทางการศึกษาได้
2 ทรัพยากรอื่นๆ ในท้องถิ่น
ช่วงที่หนึ่ง : การสร้างความเข้าใจ (Understand)
การทำความเข้าใจ กลุ่มเป้าหมาย (Empathize) หรือ Discover และ การตั้งกรอบโจทย์ (Define)
วางแผนกำหนดเป้าหมาย
การสร้างกรอบปัญหา
การทำความเข้าใจกลุ่มเป้าหมายและการตีความปัญหาเพื่อตั้งเป็นเป้าหมายของแผน
คน (Men)
การวางแผนและการกำหนดอัตรากำาลังบุคลากรทางการศึกษา
การสรรหาและเลือกสรรบุคลากรทางการศึกษา
การนิเทศงานและพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา
การประเมินผลการปฏิบัติงานและการให้บุคลากรทางการศึกษาพ้นจากงาน
แนวคิดเชิงออกแบบ Design Thinking
กระบวนการ 5 ขั้นตอนของDesign Thinking
กระบวนการออกแบบ Double Diamond Design Process ของ UK Design Council
Define การวิเคราะห์เพื่อสรุปโจทย์
Develop การพัฒนาแนวคิด
Discover การค้นคว้าหาข้อมูล
Deliver การพัฒนาเพื่อส่งมอบสู่ผู้ใช้
การคิดเชิงออกแบบของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford d.school) 1958-2015
Ideate ระดมสมองเสนอ Solution ในการจัดการและหรือการออกแบบ
ขั้นตอนในการใช้ความคิดสร้างสรรค์
Prototype สร้างหุ่นลองในขนาดเท่าจริงใน
กรณีเป็นผลิตภัณฑ์ หรือเขียนแผนการในกรณีเป็นงานบริการ
พัฒนาต้นแบบเพื่อให้ได้แนวทางหรือนวัตกรรมที่มีคุณภาพ
Define การระบุบปัญหาที่ต้องการแก้ไข
การสร้างความเข้าใจและตีกรอบปัญหา
Test นำข้อที่ห้าไปทำการทดสอบต่างๆ เพื่อนำ
ข้อดีมาใช้นำข้อเสียมาปรับปรุง
ขั้นตอนทดสอบแนวคิดกับตัวแทนกลุ่มเป้าหมาย
Empathize การทำความเข้าใจ
กลุ่มเป้าหมาย
การสร้างความเข้าใจและตีกรอบปัญหา
หลักการคิดเชิงออกแบบ
คิดแบบ “ไม่มีกรอบ” Brainstorm
ต้องตั้งคำถามที่ถูกต้อง ก่อนจะเริ่มหาคำตอบ ดังนั้นจึงต้องเริ่มตั้งคำถามก่อน โดยใช้ฟอร์ม “เราจะ......ได้อย่างไร”
ได้คำถามแล้วคิดคำตอบ โดยใช้วิธี Ideate (Idea + create) หรือการ brainstorming
โดยมีหลักการในการระดมสมองที่ดี คือ
• ต่อยอดไอเดียกัน
• ส่งเสริมไอเดียบ้าๆ
• ออกไอเดียให้กระชับ
• วาดรูปก็ได้
• เน้นปริมาณมากกว่าคุณภาพ
• อย่าออกนอกเรื่อง
• ต้องพูดทีละคน
• อย่าวิจารณ์ไอเดียคนอื่น
โดยการระดมสมองอาจพบอุปสรรคบางประการ คือ
• พูดอย่างเดียว ไม่ฟัง
• อะไรที่พูดแล้วเราดูโง่ เก็บไว้กับตัวดีกว่า
• ไอเดียไหนฟังแล้วไม่ชอบ ต้องรีบจำกัด
• ลืมจดหรือบันทึกไอเดียไว้
• คิดว่าไอเดียเดียวก็พอแล้ว
• บางไอเดียก็ลงลึกในรายละเอียดมากเกินไป
คิดอย่าง “เข้าใจ” Understand
เป็นวิธีการคิดผ่านสิ่งที่เขาพูด ทำ คิด และรู้สึก
เข้าใจปัญหาจากมุมมองของคนที่เราจะแก้ปัญหาให้
การคิดอย่างเข้าใจอาจสามารถทำได้ผ่านทางการสังเกต การสอบถาม หรือการมีประสบการณ์ร่วม