Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพระบบประสาท, Meningitis, การรู้สติ…
-
Meningitis
-
-
โรคที่เยื่อหุ้มสมองเกิดการติดเชื้อ ซึ่งอาจเกิดจากการติดเชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย หรือเชื้อรา แล้วทำให้บริเวณดังกล่าวอักเสบบวม ส่งผลให้เกิดอาการอื่น ๆ
-
-
-
-
-
ภาวะแทรกซ้อน : IICP
ปัจจัยเสี่ยง กิจกรรมที่ทําให้ความดันในทรวงอกเพิ่มขึ้น, ถ้านอนไม่เหมาะสม,การเพิ่มแรงต้านทานคอ, กล้ามเนื้อเกิดแรงต้านจากการเกร็ง , ความปวดและภาวะอารมณ์เครียด, ระดับน้ำตาลในเลือดสูง
-
-
การหมดสติ (Unconscious, coma)
-
-
-
-
- ดูแลจัดทางเดินหายใจให้โล่งให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
- คงค่าเฉลี่ยความดันเลือดแดงให้อยู่ในเกณฑ์ปกติหรือคงที่
- ประเมินอาการทางระบบประสาทร่วมกับระบบอื่นๆของร่างกาย
- ดูแลสมดุลของสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์ในร่างกายให้อยู่ในระดับขาดน้ำเล็กน้อย
- ดูแลรักษาสมดุลกรดด่างของร่างกายให้เป็นปกติ
- ป้องกันการติดเชื้อของร่างกายและรักษาอุณหภูมิร่างกาย
- ป้องกันภาวะแทรกซ้อนในระบบต่างๆ
-
-
-
-
-
-
-
-
ตอบสนองเฉพาะเสียงที่ดังมากหรือกระตุ้นด้วยความเจ็บปวด เป็นอาการที่บ่งบอกว่า การไหลเวียนเลือดที่สมองไม่เพียงพอ ถ้าไม่ได้รับการแก้ไขผู้ป่วยจะเข้าสู่ภาวะโคม่าพบAbnormal Motor Response
นอนศีรษะสูงประมาณ 30 องศา ศีรษะไม่ก้มหรือเงยมากเกินไป เพื่อให้การระบายของเลือดกลับเข้าสู่หัวใจได้ดีขึ้น เลี่ยงการงอข้อสะโพกที่มากเกินไป
เลี่ยงการนอนท่าคว่ำ หรอื ศีรษะต่ำกว่าปลายเท้า
V/S, N/S, LOC, GCS, ทุก 15 - 30 นาที หรือ 1 ชม ตามสภาพของ PT
-
-
-
-GCS -LOC -GCS
-การตรวจพิเศษ : CT, MRI, EEG
-การตรวจทางหห้องปฏิบัติการ : Blood sugar, Electrolyte, serum ammonia, liver function test, BUN etc.
-
-
-
- ลักษณะการปวด
-tension
-headache migraine
-
-
-
-
-
-
-
-
- มีการเปลี่ยนแปลงของระบบหายใจ
- ระบบประสาทสั่งการและระบบประสาทรับความรู้สึกในระดับต่ำกว่า ที่บาดเจ็บจะมีการเปลี่ยนแปลง
- สูญเสียรีเฟล็กซ์ทั้งหมดในระดับต่ำกว่าที่บาดเจ็บ สูญเสียการรับความรู้สึกและกล้ามเนื้ออ่อนแรงในระดับต่ำกว่าที่บาดเจ็บ
- สูญเสียการทํางานของทางเดินอาหารและกระเพาะปัสสาวะ
-
-
-
-
-
-
-
เป็นผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต้านทานโรคต่ำ
เป็นผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดม้าม
เป็นผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อของหูชั้นกลาง
การอยู่ร่วมกันอย่างแออัด
การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน
-
-
การมองเห็นเปลี่ยนแปลงไป เช่น ดวงตาไวต่อแสง มองเห็นเป็นภาพเบลอหรือภาพซ้อนกัน มองเห็นเป็นสีเทา เป็นต้น
ภาวะทางอารมณ์เปลี่ยนไปจากเดิม เช่น รู้สึกสับสนมากขึ้น มีการตอบสนองหรือกระบวนการคิดที่ช้าลง ไม่มีสมาธิ ฉุนเฉียวง่าย ง่วงซึม
-
-
-
-
-
-
อาการชักแบบชักสะดุ้ง (Myoclonic Seizures) อาการชักชนิดนี้มักเกิดขึ้นแบบเฉียบพลัน โดยจะเกิดอาการชักกระตุกของแขนและขาคล้ายกับการโดนไฟฟ้าช็อต ส่วนใหญ่มักจะเกิดหลังจากตื่นนอน บ้างก็เกิดขึ้นร่วมกับอาการชักแบบอื่น ๆ ในกลุ่มเดียวกัน
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-