Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีทางการพยาบาล, นางสาวนงคลักษณ์ วงศ์พนารัตน์ รหัส 646020110086 -…
ทฤษฎีทางการพยาบาล
ทฤษฎีอภิทฤษฎี(Meta-theory)
เป็นลักษณะที่เกี่ยวกับปรัชญาและวิธีการสร้างทฤษฎี เป็นทฤษฎีที่มีเป้าหมายของกระบวนการสร้างทฤษฎีจะมีจุดเน้นที่การตั้งคำถามเชิงปรัชญา วิธีการสร้างทฤษฎีและกระบวนการวิเคราะห์ วิพากษ์และหลักเกณฑ์ในการประเมินทฤษฎี ซึ่งจะใช้เป็นหลักในการวิเคราะห์ชนิดและวัตถุประสงค์ของทฤษฎี มีความเป็นนามธรรมสูง
ทฤษฎีระดับกว้าง(Grand-theory)
เป็นทฤษฎีทางการพยาบาลที่มีความเป็นนามธรรมสูง กำหนดกรอบแนวคิดที่กว้างเพื่อเป็นแบบจำลองมโนมติที่ครอบคลุมเนื้อหาสาระที่กว้างแต่จะนำไปทดสอบโดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้ยาก เนื่องจากมีความเป็นนามธรรมสูง แต่ก็สามารถนำไปเป็นแนวทางการปฏิบัติและเป็นแนวทางในการสร้างองค์ความรู้ในระดับรองลงมาได้ดี
ทฤษฎีของโรเจอร์(Roger,1970)
ทฤษฎีของคิง(King,1981
ทฤษฎีของนิวแมน(Neuman,1982)
ทฤษฎีของโอเร็ม(Orem,1971
ทฤษฎีของพาร์เช่(Parse,1981)
ทฤษฎีระดับกลาง(Middle-theory)
เป็นทฤษฎีที่มีขอบเขตเนื้อหาสาระแคบลงและมีจำนวนมโนทัศน์น้อยกว่าทฤษฎีระดับกว้าง ทฤษฎีระดับกาลางเกิดจากการศึกษาวิจัยสามารถนำไปใช้อ้างอิงและขยายต่อได้ ทดสอบได้ นำไปเป็นหลักในการปฏิบัติชัดเจนขึ้น
ทฤษฎีความไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย(Uncertainly illness Theory)ของมิเชล(Mishel,1988)
ทฤษฎีอาการไม่พึงประสงค์(Theory of Unpleasant Symtoms)ของเลนศ์ ฟิวฮ์ มิลลิแกน ซุปป์และกิฟท์(Lenz.Pugh,Milligan,Suppe&Gift,1997
ทฤษฎีระดับปฏิบัติ(Practice-theory)
เป็นทฤษฎีที่มีความซับซ้อนน้อยที่สุด เป็นชุดข้อความเชิงทฤษฎีที่เกิดจากการทดสอบสมมติฐานในปรากฎการณ์ใดปรากฎการณ์หนึ่ง มีเนื้อหาสาระและจำนวนมโนมติไม่มาก สามารถทดสอบได้ง่าย และนำไปใช้ในการปฏิบัติการพยาบาลได้โดยตรงและคาดผลที่จะเกิดจากการปฏิบัติได้
สร้างมาจากการพัฒนาจากทฤษฎีฐานราก(Grounded Theory)
Grounded Theory
มาจากการปรากฎของข้อมูลจากการศึกษาที่เก็บรวบรวมมาจากภาคสนามนำมาเป็นทฤษฎีมากกว่าจากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย(Glaser,1998)ได้ให้นิยามทฤษฎีฐานรากว่า เป็นวิธีวิจัยแบบอุปนัยสำหรับสร้างทฤษฎีใหม่ที่สร้างขึ้นจากระบบข้อมูลที่ได้จากวิธีการวิจัยที่เข้มงวด เพื่อเสนอกระบวนการที่เกิดขึ้นของสิ่งที่ศึกษา
1รูปแบบการศึกษาตามสิ่งที่ปรากฎ(Emerging study)
2รูปแบบกระบวนการที่เป็นระบบ(Systematic procedures)
3รูปแแบการสร้างสรรค์นิยม(Constructivism)
พีฒนามาจากทฤฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ ประกอบด้วยโลก ความเป็นตัวตน การกระทำร่วมกันทางสังคม
หลักการสร้างทฤษฎีฐานราก
1ผู้วิจัยต้องมีความไวทางทฤษฎี
2ผู้วิจัยต้องทำงานใกล้ชิกับกระบวนวิจัยทุกขั้นตอน
3เน้นการเข้าถึงข้อมูล การเก็บข้อมูล การตีความข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล
4มโนทัศน์สมมติฐานและกรอบแนวคิดสำหรับการอธิบายปรากฎการณ์ที่ศึกษาจะต้องมาจากข้อมูลโดยตรง
5ทฤษฎีที่ได้มาด้วยวิธีวิจัยแบบทฤษฎีฐานรากถือเป็นทฤษฎีที่นักวิจัยสร้างขึ้นมาจากข้อมูลโดยตรงและเป็นทฤษฎีที่มุ่งหาคำอธิบายให้แก่ปรากฎการณ์ที่นักวิจัยเลือกมาศึกษาเป็นหลัก
สร้างมาจากการพัฒนาทฤษฎีจากConcept analysis
นางสาวนงคลักษณ์ วงศ์พนารัตน์ รหัส 646020110086