Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร, นางสาวธาราทิพย์ มีทอง…
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสาร
คือ พฤติกรรมที่มนุษย์กำหนดขึ้นเป็นกระบวนการเพื่อติดต่อทำความเข้าใจในวิถีชีวิตที่อยู่ร่วมกันในสังคม
ความสำคัญของการสื่อสาร
การสื่อสารช่วยธำรงสังคมให้อยู่ร่วมกันเป็นปกติสุข
การสื่อสารเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนา
การสื่อสารเป็นปัจจัยสำคํญในการธำรงชีวิต
ประโยชน์ของการสื่อสาร
ให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆ
ทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน
เป็นเครื่องมือในการเข้าสังคมของมนุษย์
เป็นเครื่องระบาย และถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดและอารมณ์
เป็นเครื่องมือสร้างความสุข ความพอใจ หรือความบันเทิง
เป็นเครื่องมือจำเป็นในธุรกิจการงาน
เป็นเครื่องมือโน้มน้าวจิตใจ หรือชักจูงให้ทำในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
วัตถุประสงค์ในการสื่อสาร
เพื่อแจ้งให้ทราบและเพื่อทราบ
เพื่อให้ความรู้และเพื่อเรียนรู้
เพื่อเสนอหรือชักจูงและเพื่อกระทำและตัดสินใจ
เพื่อให้ควาพอใจ
องค์ประกอบของการสื่อสาร
ผู้ส่งสาร
สาร
รหัสสาร
เนื้อหาสาร
การจัดสาร
สื่อหรือช่องทาง
สื่อ=สื่อธรรมชาติ,สื่อสาถารณะ,สื่อมวลชล ช่องทาง=หู ตา จมูก ลิ้น และกาย
ผู้รับสาร
ผลของการสื่อสาร
ระดับบุคคล
ระดับส่วนรวม
ปฎิกิริยาตอบสนอง
การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
ความรู้ของผู้ส่งสาร
ความคิดของผู้ส่งสาร
การส่งสารให้ตรงประเด็น
การลำดับความในสาร
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
ความตั้งใจ ความสนใจของผู้รับสาร
อุปสรรคในการสื่อสาร
อุปสรรคที่ผู้ส่งสาร
ผู้ส่งสารขาดความรู้
ผู้ส่งสารไม่มีความสามารถในการถ่ายทอด
ผู้ส่งสารบกพร่องด้านบุคลิกภาพ
ผู้ส่งสารไม่มีจุดมุ่งหมายที่แน่นอน
ผู้ส่งสารมีเจตคติที่พึงประสงค์จึงราบรื่นได้ยาก
อุปสรรคที่สาร
สารนั้นยากซับซ้อน
สารนั้นมากเกินไป
สารนั้นเป็นเรื่องที่ีห่างไกลตัวผู้รับมากเกินไป
การจัดลำดับเนื้อหาของสารไม่พอดี
สารนั้นมีความขัดแย้งในตัวเอง
อุปสรรคที่ช่องทางหรือสื่อ
ผู้ส่งสารใช้ช่องทางไม่เหมาะสม
ส่งสารด้วยการเขียนมักจะมีปัญหารื่องตัวหนังสือ
ตัวพิมพ์เลอะเลือน อ่านไม่ออก
บริเวณที่กำลังสื่อสารมีเสียงรบกวน ทำให้ผู้รับสารฟังไม่ชัด
ขัดข้องทางเทคนิค
กิริยาท่าทางประกอบการสื่อสารไม่สอดคล้องเท่าที่ควร
อุปสรรคผู้รับสาร
ผู้รับสารขาดความรู้พื้นฐานในเรื่องที่จะรับ
ผู้รับสารมีเจตคติที่ไม่ดีต่อสารและผู้ส่งสาร
ผู้รับสารขาดความพร้อมที่จะรับสาร
ผู้รับสารคิดว่าตนเองมีความรู้มากกว่าผู้ส่งสาร จึงไม่สนใจ
อวัยวะของร่างกายที่เกี่ยวกับการรับสาร เช่น หูอาจผิดปกติ ฯลฯ
ประเภทของการสื่อสาร
พิจารณาจากจำนวนผู้สื่อสาร
การสื่อสารภายในตัวบุคคล
การสื่อสารระหว่างบุคคล
การสื่อสารกลุ่มใหญ่
การสื่อสารองค์การ
การสื่อสารมวลชน
พิจารณาจากความแตกต่างระหว่างผู้รับสารกับผู้ส่งสาร
การสื่อสารระหว่างเชื้อชาติ
การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม
การสื่อสารระหว่างประเทศ
หลักเกณฑ์ในการสื่อสาร
การใช้ภาษาเป็นภาษาทางการถึงทางการหรือภาษากันเอง
เลือกสรร
ความเหมาะสม
การมีกาลเทศะ เป็นหัวใจหลักของหลักเกณฑ์ในการสื่อสาร มีทั้งบุคคล สถานการณ์และเวลา
นางสาวธาราทิพย์ มีทอง เลขที่ 21 section 12