Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ท่อทางเดินอาหาร (Gastrointestinal tract ), นางสาวชรินรัตน์ อุ้ยมาก…
ท่อทางเดินอาหาร
(Gastrointestinal tract )
คอหอย (Pharynx)
กล้ามเนื้อลายบุภายในด้วยเยื่อเมือก
ทำหน้าที่เป็นทางผ่านของอากาศ และอาหาร
1.Nasopharynx
pharyngeal tonsil (adenoid)
auditory (Eustachian) tube ใช้สำหรับปรับ ความดันภายในหูชั้นกลางให้เท่ากับความดันบรรยากาศภายนอก
3.Laryngop harynx
เป็นทางผ่านของทั้ง อากาศ และอาหาร
2.Oropharynx
เนื้อเยื่อน้ำเหลืองคือ palatine tonsils. และ lIngual tonsils.
หลอดอาหาร
( Esophagus )
2.submucosa
เป็นชั้นของเนื้อยึดต่อที่บรรจุหลอดเลือด
และหลอดน้ำเหลือง
ผลิตเมือกที่หล่อลื่น
4.adventitia
ป้องกันการไหลย้อนกลับของอาหาร
ผนังชั้นนอกสุด เนื้อยึดต่อที่เรียงตัวกันหลวมๆ
โดยไม่มีเยื่อบุผิว (mesothelium) คลุมทับ
3.muscularis
ส่วนบน 1/3 เป็น
กล้ามเนื้อลายทั้งหมด
ส่วนกลาง 1/3 มีทั้งกล้ามเนื้อลาย
และกล้ามเนื้อเรียนปนกัน
ส่วนล่าง 1/3
เป็นกล้ามเนื้อเรียบทั้งหมด
1.mucosa
ประกอบด้วย stratified squamous epithelium
อยู่ใกล้กับกระเพาะอาหาร
จะพบ mucous glands
ทำหน้าที่คล้ายกับหูรูด ช่วยในการกลืน และป้องกันไม่ให้อาหารย้อนกลับขึ้นมา
upper esophageal sphincter (UES)
lower esophageat sphincter (LES)
ลำไส้ใหญ่
(Large Intestine)
1.mucosa
ไม่มี vill และ
plicacirculares
มี goblet cells เป็นจำนวนมาก
มีเนื้อเยื่อน้ำเหลือง (Lymphoid nodute)
ช่วยจับกินเชื้อโรค
submucosa
เป็นชั้นของเนื้อยึดต่อ
muscularis
ชั้นกล้ามเนื้อของลำไส้ใหญ่
มี 2 ชั้น
ชั้นในเรียงตัวเป็นวงรอบ
ชั้นนอกเรียงตัวตามยาว
มีการหนาตัวขึ้นเป็นแถบตามยาว 3 แถบ เรียกว่า taeniae coi
ลำไส้ใหญ่มีลักษณะเป็นกระพุ้งสลับกับรอยคอดเรียกว่า haustra หรือ sacculations
serosa
เยื่อบุช่องท้องที่หุ้มลำไส้ใหญ่ซึ่งบริเวณที่อยู่ตรงกับ taeniae coli
มีถุงไขมันเล็กๆ เกาะอยู่เรียกว่า
epiploic appendages
บริเวณ rectum จะไม่มี serosa คลุม
ลำไส้เล็ก
(Small Intestine)
1.mucosa
ผิวของ vili บุด้วย simple columnar epitheliumอะ
Goblet cells
บริเวณ villi ทำหน้าที่สร้างเมือก
Absorptive cells
ทำหน้าที่เกี่ยวกับการดูดซึม และสร้างน้ำย่อยบางชนิด เช่น lactase, sucrase, peptidase เป็นต้น
Enteroendocrine cells
ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน
Paneth cells
ทำหน้าที่สร้าง lysozyme สำหรับทำลาย
แบคที่เรียบางชนิดที่ปนมากับอาหาร
submucosa
ชั้น Submucosaของลำไส้เล็กส่วน duodenum มีลักษณะพิเศษ คือพบมีต่อมเมือกเรียกว่า duodenal (Brunner's) glands เป็นจำนวนมาก ทำหน้าที่สร้างเมือกที่มีฤทธิ์เป็นต่างเพื่อป้องกันผนัง
ลำไส้เล็กแบ่งเป็น 3 ส่วน
2.Jejunum
เป็นลำไส้เล็กส่วนกลาง ยาวประมาณ 8 ฟุต
ดูดซึมได้มากที่สุด
3.lleum
เป็นลำไส้เล็กส่วนปลาย ยาวประมาณ 12 ฟุต
มี Serosa, Payer parches
Duodenum
ลำไส้เล็กส่วนต้นที่สั้นที่สุด
มีความยาวประมาณ 10 นิ้ว
โดยขดเป็นรูปอักษร C
minor duodenal papilla
มีรูเปิดของท่อน้ำย่อยจากตับอ่อน
(accessory pancreatic duct)
major duodenal papilla
มีรูเปิดของ hepatopancreatic
ampulla (ampulla of Vater)
หูรูดทำหน้าที่ควบคุม
การหลั่งน้ำย่อยเข้าสู่ duodenum ชื่อว่า sphincter of Oddi
muscularis
ประกอบด้วยชั้นกล้ามเนื้อเรียบ 2 ชั้น ชั้นในเรียงตัวเป็นวงรอบ ชั้นนอกเรียงตัวตามยาว
หน้าที่
1.หลั่งน้ำย่อยออกมา
ย่อยอาหาร
(Digestive function)
2.การเคลื่อนไหว
(Intestinal motility)
เพื่อคลุกเคล้าอาหารให้
เข้ากับน้ำย่อย
2.Segmental contraction
เป็นการบีบตัวสลับการ คลายตัวของ circular muscle ทำให้เห็นเป็นรอยคอด
3.Pendular movement
เป็นการหดตัวของ Longitudinal muscle ซึ่งเกิดขึ้นเป็นระยะสั้น แกว่งเป็นจังหวะ คล้ายลูกตุ้มนาฬิกา
1.Peristatsis movement
การบีบรูดของลำไส้จากส่วนบนลงสู่ส่วนปลาย เป็นการเคลื่อนอาหารอย่างช้าๆ
serosa
ลำไส้เล็กส่วนกลาง และส่วนปลายมีเยื่อบุช่องท้องหุ้มรอบ และยึดกับผนังช่องท้อง ด้านหลังด้วยเยื่อแขวนลำไส้
สำหรับลำไส้เล็กส่วนต้นนั้นมีเยื่อบุช่องท้องหุ้มเป็นบางส่วนเท่านั้น
กระเพาะอาหาร
( Stomach )
3.musculans
ชั้นกลางเรียงตัวเป็นวงรอบ (Circular)
ชั้นในเรียงตัวเป็นแนวเฉียง (oblique)
ชั้นนอกสุดเรียงตัวตามยาว (longitudinal)
บริเวณ pylorus กล้ามเนื้อชั้นกลางจะหนาตัวขึ้นทำหน้าที่เป็นหูรูดกระเพาะอาหาร (pyloric sphincter)
2.submucosa
ประกอบด้วยหลอดเลือด เส้นประสาท หลอดน้ำเหลือง
1.mucosa
ชั้นเยื่อเมือกบุด้วย
simple columnar epithelium
ของ gastric pits ติดต่อกับ
ต่อมกระเพาะอาหาร
(gastric glands)
Gastric gland
2.Parietal cell
สร้าง HCL เข้มข้น เพื่อช่วยย่อยอาหาร
ฆ่าเชื้อโรค
แปลงสภาพ/สลายพันธะบางส่วน
การดูดซึม B12
3.Mucous neck cells
สร้างเมื่อกมาเคลือบผิวของต่อม ป้องกันไม่ให้เนื้อต่อมถูกทำลายโดยน้ำย่อย และ
กรดที่ต่อมสร้างออกมา
1.Chief cell
สร้าง pepsinogen เมื่อถูกกับกรดในกระเพาะอาหารจะเปลี่ยนเป็น pepsin ซึ่งเป็นน้ำย่อยสำหรับย่อยโปรตีน
HCl + pepsinogen => pepsin(โปรตีนย่อยสลายทางเคมี) การยืดตัวและ ↑pH ของตัวกระตุ้นการหลั่งของกระเพาะอาหาร
4.Enteroendocrine cells (G - cell)
สร้างฮอร์โมน gastin ควบคุมการหลั่งกรด และน้ำย่อยของกระเพาะอาหาร, การหดตัวของหลอดอาหารส่วนล่าง และการคลายตัวของหูรูดกระเพาะอาหาร (pyloric sphincter)
หน้าที่
เคลื่อนไหว (Gastric motility)
เพื่อคลุกเคล้าอาหารให้สัมผัสกับน้ำย่อย
3.ขับน้ำย่อยในกระเพาะ
(Gastric juice)
เป็นที่เก็บกักอาหารไว้
ก่อนที่จะผ่านเข้าสู่ลำไส้
นางสาวชรินรัตน์ อุ้ยมาก รหัสนักศึกษา 64106301123
ห้อง 1B เลขที่ 51