Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 - Coggle Diagram
บทที่2
หลักการจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาทักษะการ เรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21
ชาญชัย อาจินสมาจาร ได้ให้คำจำกัดความไว้ว่าบรรยากาศในชั้นเรียนเป็นสิ่งแวดล้อมที่ผู้เรียนและครูทางานและมีปฏิสัมพันธ์สภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อการรับรู้หรือการเรียนรู้ของผู้เรียน ได้แก่ สภาพแวดล้อมด้านกายภาพจิตภาพและสังคม
Robert DiGiulio (2000) ได้ศึกษาการจัดการห้องเรียนเชิงบวก พบว่า ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ดีจากประสบการณ์ที่มีกับสิ่งแวดล้อม เรียนรู้ได้ด้วยประสบการณ์ที่มีกับผู้อื่นและจากตัวของเด็กเอง แต่สิ่งที่ยากที่สุดมิใช่การสอนเนื้อหา แต่กลับเป็นเรื่อง “การจัดการระเบียบวินัยของห้องเรียน”
ไชยยศ เรืองสุวรรณ และปรีชา วิหคโต (2541)กล่าวว่า สภาพแวดล้อมทางการเรียน หมายถึงสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัวของผู้เรียน และส่งผลต่อกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมของผู้เรียน
Slavin (1994) กล่าวไว้ว่าชั้นเรียนที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมมีการเรียนแบบร่วมมือกันผู้เรียนจะมีพฤติกรรมที่ดีเพราะมีแรงจูงใจในการเพราะมีแรงจูงใจในการเรียน
สภาพแวดล้อมทางการเรียน หมายถึง สภาพหรือสภาวะใด ๆ ที่มีผลต่อการเรียนรู้ของมนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อม ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม
การจัดการห้องเรียน
ตารางมิติการจัดการห้องเรียนทางบวก
สภาพแวดล้อมทางการเรียนหรือบรรยากาศการเรียนรู้
องค์ประกอบด้านจิตภาพ
สภาพแวดล้อมทาง
จิตภาพที่เป็นกายภาพ
สภาพแวดล้อมทาง
จิตภาพที่เป็นบุคคล
องค์ประกอบด้านกายภาพ
สภาพแวดล้อมทางการเรียนนอกห้องเรียน
สภาพแวดล้อมในห้องเรียน
สีของห้องเรียน แสงสว่าง เสียงในห้องเรียน การระบายอากาศของห้องเรียน
องค์ประกอบด้านสังคม
การกำหนดกฎระเบียบจะมีลักษณะที่ให้การสนับสนุน อำนวยความสะดวก และให้เสรีภาพ มีความเป็นประชาธิปไตย กฎระเบียบในลักษณะนี้ความสัมพันธ์จะเป็นมิตร มีความเป็นกันเอง มีความร่วมมือกัน ฟังความคิดเห็นกันและกัน ก่อให้เกิดสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน
หลักการบริหารจัดการชั้นเรียนเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การจัดการชั้นเรียนด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ การจัดสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่อํานวยความสะดวกด้าน ICT
การจัดการชั้นเรียนทางด้านจิตวิทยา เน้นการจัดการเกี่ยวกับความรู้สึก เจตคติและพฤติกรรมของผู้เรียน
การจัดการชั้นเรียนเพื่อส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้ เพื่อกระตุ้นหรือส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกอยากเรียน
การใช้เทคนิค ทักษะการสอน นวัตกรรมการเรียนการสอนอย่างเหมาะสมกับห้องเรียนและลักษณะผู้เรียน
การสร้างกฎระเบียบร่วมกันระหว่างครูกับผู้เรียน รู้จักเคารพ และมีความรับผิดชอบ
แนวคิดที่เกี่ยวกับการจัด
การศึกษาในศตวรรษที่ 21
1.2 แนวคิดและหลักการเกี่ยวกับการบริหารจัดการชั้นเรียนเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
1.2.1 ความหมายของการบริหารจัดการชั้นเรียนเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การดําเนินการในชั้นเรียนให้อยู่ในสภาพความพร้อมที่จะดําเนินการเรียนการสอนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยผู้สอนนําเทคโนโลยีใหม่มาใช้เพื่อให้เกิดประสิทธิผลในการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างแท้จริง และเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เน้นพัฒนาการคิดขั้นสูงและการสร้างนวัตกรรม
1.2.2 ความสําคัญของการบริหารจัดการชั้นเรียนเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การบริหารจัดการชั้นเรียนช่วยให้ผู้สอนตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ของตนนําทักษะในวิชาชีพครูเกี่ยวกับการออกแบบการเรียนการสอนมาใช้จัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนให้ได้อย่างราบรื่น ทำให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาตนเองด้านสติปัญญา อารมณ์ ร่างกาย และสังคม และนำไปสู่การใช้ชีวิตอย่างมีความสุข
1.2.3 ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการชั้นเรียนกับการสอน
ไม่สามารถแยกการบริหารจัดการชั้นเรียนกับการท าหน้าที่การจัดการเรียนการสอนได้
การบริหารชั้นเรียนเป็นความท้าทาย
ของการเป็นครูมืออาชีพ
การบริหารจัดการชั้นเรียน และการ
เรียนการสอนเป็นสิ่งที่มีความสัมพันธ์ ซึ่ง
กันและกัน
1.2.4 หลักการบริหารเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ต้องบริหารจัดการการเรียนให้มีชีวิตชีวา ส่งเสริมการทำงานร่วมกันและใช้เทคโลโลยีเพิ่มขึ้น
1.1 แนวคิดทักษะในศตวรรษที่ 21
1.1.1 วิชาแกนและแนวคิดสําคัญในศตวรรษที่ 21
การอ่าน การเขียน การคำนวณ
เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ 8 สาระวิชา ได้แก่ ภาษาแม่และภาษาโลก ศิลปะ คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์
การฉลาดรู้ด้านพลเมือง
การฉลาดรู้ด้านสุขภาพ
การฉลาดรู้ด้านการเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ
การฉลาดรู้ด้านสิ่งแวดล้อม
จิตสำนึกต่อโลก
1.1.2 ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
2) ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
การฉลาดรู้ด้านสื่อ
การฉลาดรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การฉลาดรู้ด้านสารสนเทศ
3) ทักษะชีวิตและอาชีพ
ความคิดริเริ่มและการชี้นำตนเอง
ทักษะทางสังคมและการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม
ความยืดหยุ่นและความสามารถในการปรับตัว
ความเป็นผู้นำและความรับผิดชอบ
การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิตและความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
1) ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม
ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม
การสื่อสารและการร่วมมือทำงาน
การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา
1.1.3 ระบบสนับสนุนจําเป็น
ระบบที่ 1 มาตรฐานและการประเมินของศตวรรษที่ 21
ระบบที่ 1.2 การประเมินทักษะของศตวรรษที่ 21
เน้นการนำประโยชน์ของผลสะท้อนจากการปฏิบัติของผู้เรียนมาปรับปรุงการแก้ไขงาน
ใช้เทคโนโลยีเพื่อยกระดับการทดสอบวัดและประเมินผลให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
สร้างและพัฒนาระบบแฟ้มสะสมงานของผู้เรียนให้เป็นมาตรฐานและมีคุณภาพ
สร้างความสมดุลในการประเมินระหว่างการสอบแบบอิงมาตรฐานที่มีคุณภาพสูง การประเมิน ระหว่างเรียน และการประเมินสรุปรวมที่มีประสิทธิภาพ
ระบบที่ 1.1 มาตรฐานของศตวรรษที่ 21
มุ่งเน้นการสร้างความรู้และเข้าใจในเชิงลึกมากกว่าการสร้างความรู้แบบผิวเผิน
ยกระดับความสามารถผู้เรียนด้วยการให้ข้อมูลที่เป็นจริง
สร้างความรู้ความเข้าใจในการเรียนที่มีการบูรณาการความซ้ าซ้อนสาระเนื้อหา
ใช้หลักการวัดประเมินผลที่มีคุณภาพระดับสูง
เน้นทักษะความรู้และความเชี่ยวชาญที่เกิดกับผู้เรียน
ระบบที่ 3 การพัฒนาทางวิชาชีพของศตวรรษที่ 21
สร้างสมรรถนะทางวิชาชีพให้เกิดขึ้นกับครูเพื่อเป็นตัวแบบ ที่จะนำไปสู่การสร้างทักษะการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนได้อย่างมีคุณภาพ
สร้างให้ครูเป็นผู้ที่มีความสามารถวิเคราะห์ผู้เรียนได้ทั้งรูปแบบการเรียน สติปัญญา จุดอ่อน
จุดแข็ง ในตัวผู้เรียน และสามารถวิจัยเชิงคุณภาพที่มุ่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน
สร้างให้ครูเป็นผู้มีทักษะความรู้ความสามารถในเชิงลึกเกี่ยวกับการแก้ปัญหา การคิดแบบ
วิจารณญาณ และทักษะด้านอื่นๆที่ส าคัญต่อวิชาชีพ
ช่วยให้ครูได้เกิดการพัฒนาความสามารถให้สูงขึ้น เพื่อน าไปใช้ส าหรับการก าหนดกลยุทธ์
ทางการสอน และจัดประสบการณ์ทางการเรียนได้เหมาะสมกับบริบททางการเรียนรู้
สร้างความสมบูรณ์แบบในมิติของการสอนด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย
สนับสนุนให้เกิดการประเมินผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างทักษะและเกิดการพัฒนาการเรียนรู้
สร้างครูให้เป็นผู้ที่มีทักษะความรู้ความสามารถในเชิงบูรณาการ
แบ่งปันความรู้ระหว่างชุมชนทางการเรียนรู้ โดยใช้ช่องทางหลากหลายในการสื่อสารให้เกิดขึ้น
สร้างให้เกิดตัวแบบที่มีการพัฒนาทางวิชาชีพได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน
ระบบที่ 4 สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ของศตวรรษที่ 21
สร้างผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากสิ่งที่ปฏิบัติจริงตามบริบท โดยเฉพาะการเรียนแบบโครงงาน
สร้างโอกาสในการเข้าถึงสื่อเทคโนโลยี เครื่องมือหรือแหล่งการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ
สนับสนุนทางวิชาชีพแก่ชุมชนทั้งในด้านการให้การศึกษา การมีส่วนร่วม การแบ่งปันสิ่งปฏิบัติที่
เป็นเลิศระหว่างกันรวมทั้งการบูรณาการหลอมรวมทักษะหลากหลายสู่การปฏิบัติในชั้นเรียน
ออกแบบระบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมทั้งการเรียนเป็นกลุ่มหรือการเรียนรายบุคคล น าไปสู่การ
พัฒนาและขยายผลสู่ชุมชนทั้งในรูปแบบการเผชิญหน้าหรือระบบออนไลน์
สร้างสรรค์แนวปฏิบัติทางการเรียน การรับการสนับสนุนจากบุคลากรและสภาพแวดล้อมทาง
กายภาพที่เกื้อหนุน เพื่อช่วยให้การเรียนการสอนบรรลุผล
ระบบที่ 2 หลักสูตรและการสอนของศตวรรษที่ 21
การสอนให้เกิดทักษะการเรียนในศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นเชิงสหวิทยาการของวิชาแกนหลัก
3.สร้างนวัตกรรมและวิธีการเรียนรู้ในเชิงบูรณาการที่มีเทคโนโลยีเป็นตัวเกื้อหนุน
สร้างโอกาสที่จะประยุกต์ทักษะเชิงบูรณาการข้ามสาระเนื้อหา และสร้างระบบการเรียนรู้ที่เน้นสมรรถนะ
เป็นฐาน
บูรณาการแหล่งเรียนรู้จากชุมชนเข้ามาใช้ในโรงเรียน
ความแตกต่างระหว่างห้องเรียนในศตวรรษที่ 20 และ ห้องเรียนในศตวรรษที่ 21