Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลปฏิบัติตัวในผู้ป่วยหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม - Coggle…
การดูแลปฏิบัติตัวในผู้ป่วยหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม
การเตรียมอุปกรณ์ / ที่พักอาศัย
เตรียมพื้นที่ให้โล่งไม่มีสิ่งกีดขวาง / แสงสว่างเพียงพอ
Walker หรือ ช่วยเดิน
ห้องน้ำที่มีชักโครกหรือใช้ที่คร่อมชักโครก
เตียงนอน , หมอนสำหรับตะแคงตัว (ขนาดเดียวกับหมอนหมุนศีรษะ 2 ใบ หรือใช้ใบใหญ่ 1 ใบ
ความเสี่ยงและผลข้างเคียงของการตรวจรักษา
แผลผ่าตัดมีเลือดออกหรือซึม
ปวดข้อสะโพกมาก มีอาการบวมแดงมาก และ/หรือมีไข้
ต้นขาบวมและปวดมาก
การปฏิบัติตน
ข้อห้ามและข้อควรระวังหลังการผ่าตัดในระยะแรก
ไม่ก้มตัวลงหยิบของที่พื้นในขณะยื่นหรือนั่ง
ไม่นั่งไขว่ห้าง
ควรนั่งเก้าอี้ที่มีเบาะแข็งและควรเลื่อนตัวมาอยู่ขอบเก้าอี้ก่อนลุกขึ้นยืน ควรนั่งเก้าอี้สูง เช่น เก้าอี้บาร์ ไม่นั่งโซฟา
ไม่ใช้ส้วมซึม หากไม่มีต้องใช้เก้าอี้สูงสำหรับวางคร่อมคอห่าน
ไม่ยืนในท่าที่หันปลายเท้าเข้าหาลำตัวและหุบขาเข้า
ควรนอนหงายหรือนอนตะแคงโดยมีหมอนรองระหว่างขา เพื่อป้องกันไม่ให้มีการหุบขาเข้ามาหากันมากเกินไป ไม่นอนตะแคงทับขาข้างที่ผ่าตัดในช่วง 5 - 7 วันแรกหลังการผ่าตัด
ให้ระมัดระวังท่าทางหรือการเคลื่อนไหวที่ทำให้ลำตัวและต้นขาทำมุมน้อยกว่ามุมฉาก (90 องศา)
การปฏิบัติตัวเพื่อยืดอายุการใช้งานของข้อสะโพกเทียม
หลีกเลี่ยงการยกของหนัก
หลีกเลี่ยงการขึ้นลงบันไดที่มากเกินไป
รักษาน้ำหนักตัวไม่ให้มากเกินไป
หลีกเลี่ยงการเคลื่อนไหวที่เร็วเกินไป รวมถึงการหมุนตัวที่รวดเร็ว
หลีกเลี่ยงการงอข้อสะโพกมากๆ เช่น การนั่งเก้าอี้เตี้ย หรือนั่งยองๆ
ระวังการลื่นหกล้ม
ออกกำลังกายบริหารกล้ามเนื้อต้นขาอย่างสม่ำเสมอ
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก คือ การผ่าตัดเอาส่วนของข้อสะโพกที่เสื่อมสภาพ เช่น กระดูกสะโพกที่แตกหัก หรือหัวกระดูกสะโพกที่ปลายออกหรือการใส่สะโพกเทียมทดแทนลงไป เพื่อให้สะโพกมีการเคลื่อนไหวอย่างคล้ายคลึงเหมือนข้อสะโพกจริงให้ได้มากที่สุด เพื่อที่จะให้ผู้ป่วยกลับสู่สภาพเดิมได้เร็วที่สุดหลังจากการผ่าตัด
การบริหารกล้ามเนื้อสะโพก
ลงเดินโดยใช้ Walker เท่าที่จำเป็นในสัปดาห์แรก
นั่งห้อยขาข้างเตียง , เก้าอี้ งอเข่าชิดขอบเตียง ให้ขากางไว้ นับ 1-10 หลังจากนั้นให้เหยียดขาตรงค้างไว้ นับ 1-10 และทำซ้ำ (หมายเหตุ แต่ละท่าให้ทำ 30 ครั้ง ต่อรอบ วันละ 3-4 รอบ)
นอนหงายสไลด์ขาข้างผ่าตัดออกด้านข้าง ประมาณ 15 องศา แล้วเลื่อนกลับ ห้าม หุบขาเกินแนวกลางลำตัวและทำซ้ำ
นอนหงาย เหยียดขาทั้งสองข้างออกให้ตรง พยายามกดข้อเข่าลงพร้อมกัน เกร็งค้างไว้ นับ 1-10 คลายออกและทำซ้ำ
กระดกปลายเท้าขึ้นนับ 1-10 , กดปลายเท้าลงนับ 1-10 และทำซ้ำ
การดูแลแผลผ่าตัด
ห้ามแผลโดนน้ำ จนกว่าแพทย์จะอนุญาต
การเข้าห้องน้ำขับถ่าย
ขับถ่ายในห้องน้ำที่มีชักโครก หรือ ใช้ที่คร่อมชักโครก
การจัดท่านอน
นอนหงายให้ขาข้างที่ผ่าตัดกางไว้ แล้วใช้หมอนแทรกระหว่างขา
ตะแคงขาข้างที่ผ่าตัดขึ้นบน ใช้หมอนแทรกระหว่างขา ให้ขากางไว้
หากรู้สึกมีอาการผิดปกติ ปวดมากเกินไป บวมจนเกินไป ขอแนะนำให้รีบไปพบแพทย์ด่วนทันทีเลย