Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การออกแบบการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน - Coggle Diagram
การออกแบบการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
จุดมุ่งหมายของการออกแบบการวิจัย
เพื่อให้ได้คำตอบในปัญหาการวิจัยอย่างถูกต้อง
เพื่อควบคุมความแปรปรวนของตัวแปรในการวิจัย
องค์ประกอบของการออกแบบการวิจัย
การออกแบบการวัดตัวแปร
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง
การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล
การออกแบบการวิจัยเชิงบรรยาย
วิธีการออกแบบการวิจัย
การออกแบบการทดลอง
ส่วนประกอบของการออกแบบการทดลอง ( กรอบแนวคิดหรือทฤษฎีและ การจัดกลุ่มสำหรับการทดลอง )
ประเภทของการออกแบบการทดลอง
การวิจัยเชิงทดลองขั้นต้น
การวิจัยกึ่งทดลอง
การวิจัยเชิงทดลองอย่างแท้จริง
หลักการสุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย
ขั้นตอนการสุ่มตัวอย่าง
กำาหนดประชากรเป้าหมาย
กำหนดกรอบตัวอย่าง
กำหนดวิธีการสุ่มตัวอย่าง
กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
ดำเนินการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
วิธีการสุ่มตัวอย่าง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1 การสุ่มที่ไม่คำนึงถึงความน่าจะเป็นในการสุ่ม
เป็นการเลือกตัวอย่างประชากรแบบเจาะจง
ได้แก่
การสุ่มแบบโควตา
การสุ่มแบบเจาะจง
การสุ่มแบบบังเอิญ
2 การสุ่มที่คำนึงถึงความน่าจะเป็นในการสุ่ม
เป็นการสุ่มที่คำนึงถึงความน่าจะเป็น
ได้แก่
การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ
การสุ่มตัวอย่างแบบเลือกเป็นคู่
การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิ
การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มหรือพื้นที่
การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน
การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย
ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
เป็นจำนวนสมาชิกกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยที่จะศึกษาเป็นกลุ่มตัวอย่าง โดยผู้วิจัยจะต้องกำหนดจำนวนของกลุ่มตัวอย่างว่าจะใช้จำนวนเท่าใด
การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างควรมีจำนวนมากเท่าที่จะสามารถทำได้
ขนาดของกลุ่มตัวอย่างจำนวนน้อยที่สุดที่สามารถยอมรับได้ขึ้นอยู่กับชนิดของการวิจัย
ขนาดของประชากร
ความคลาดเคลื่อนจากการสุ่มตัวอย่าง
ลักษณะของประชากร
ทรัพยากรและเวลาที่ใช้ในการวิจัย
วิธีการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
กำหนดตามเกณฑ์
ถ้าขนาดของกลุ่มประชากรมีเป็นจำนวนร้อย ควรใช้กลุ่มตัวอย่าง อย่างน้อยร้อยละ 25
ถ้าขนาดของกลุ่มประชากรมีเป็นจำนวนพัน ควรใช้กลุ่มตัวอย่าง อย่างน้อยร้อยละ 10
ถ้าขนาดของกลุ่มประชากรมีเป็นจำนวนหมื่น ควรใช้กลุ่มตัวอย่าง อย่างน้อยร้อยละ 1