Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สิ่งคุกคามจากการทํางาน และการป้องกันควบคุม, 632051172 วาฮีดะห์ สิเดะ …
สิ่งคุกคามจากการทํางาน
และการป้องกันควบคุม
สิ่งคุกคามจากการทํางานทางกายภาพ
ความเย็น (cold)
การป้องกันและควบคุม
1 การคัดเลือกที่จะปฏิบัติงานในสภาพแวดล้อมที่เย็น จัดควรจะมีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง
2 หลีกเลี่ยงคัดเลือกผู้ปฏิบัติงานที่มีอาการ เช่น เจ็บหน้าอกข้างซ้าย
3 ผู้ประกอบอาชพี ทีปฏิบัติงานในสถานที่อุณหภูมิ1
องศาเซลเซียสคงมีการดูแลป้องกันตนเองอย่างถูกต้อง
ความเย็น คือสภาพบรรยากาศที่ทําให้ร่างกายมีการสูญเสียความร้อนมากกว่าปกติสภาพแวดล้อมที่มีอุณหภูมิตำ่กว่า 18 ถึง 20 องศาเซลเซียส
อันตรายของความเย็นมี 2 ชนิด
1 ชนิดรุนแรง
2 ชนิดไม่รุนแรง
รังสี
อันตรายของรังสี
1 ผลกระทบจากรังสิตต่อร่างกายตามระบบอวัยวะ
2 ผลกระทบจากรังสีต่อการเกิดความผิดปกติทางพันธุกรรม
3 ผลกระทบต่อการเจรญิเติบโตและพัฒนาการของทารก
4 ผลกระทบจากรังสิตต่อการเกิดมะเร็ง
คือพลังงานในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือ อนุภาครังสีที่มีพลังงานสะสมอยู่แต่มีประจุและไม่มีประจุ
รังสีในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้แก่แสงสว่างคลื่นวิทยุไมโครเวฟ
1 รังสีชนิดที่ก่อให้เกิดการแตกตัว
2 รังสิตชนิดที่ไม่มีการแตกตัว
รังสีในรูปของอนุภาค เช่น เเอลฟา เบตา และนิวตรอน
การป้องกันและควบคุมอันตรายจากรังสี
จํากัดระยะเวลาในการทํางานที่เกี่ยวข้องกับรังสีระยะทางและใช้ป้องกันเพื่อจํากัดขนาดของรังสี
ความร้อน
ระดับความร้อน
อุณหภูมิเวตบัลบ์โกลบ ในบริเวณที่ลูกจ้างทํางานตรวจวัดโดยเฉลี่ยในเวลา 2 ช่วง ชั่วโมงที่มีอุณหภูมิเวตบัลบ์โกลบสูงสุดของการทํางานปกต
อุณหภูมิเวตบัลบ์โกลบ เป็นดัชนีวัดสภาพความร้อนในสิ่ง แวดล้อมการทํางานหน่วยองศาเซลเซียส
1 ความร้อนคือพลังงานรูปแบบหนึ่งที่ทําให้มนุษย์รับรู้โดยการใช้ระสาทสัมผัสเป็นพลังงานจลน์ของโมเลกุลของวัต ถุเมื่อวัตถุได้รับความร้อนเพิ่มขึ้นในโมเลกุลก็จะเคลื่อนไหวได
2 อุณหภูมิคือระดับความร้อนที่มีอยู่ในวัตถุเป็นคุณสมบัติประจําตัวของวัตถุนั้น
3 ปริมาณความร้อนคือจํานวนความร้อนที่ถูกถ่ายเทจากวัตถุหนึ่งไปอีกประตูหนึ่งหน่วยที่ใช้
กิโลแคลอรี
บีทียู
อาชีพกลุ่มเสี่ยง
กลุ่มอาชีพที่พบผู้ป่วยสูงสุดคือกลุ่มคนงานรับจ้างทั่วไปรองลงมาคือกลุ่มอาชีพเกษตรกรและกลุ่มนักเรียน
อวัยวะที่ควบคุมอุณหภูมิ
การเพิ่มความร้อนมาจากแหล่งความร้อน 2 แรง
1 ภายในร่างกาย
2 ภายนอกร่างกาย
การเปลี่ยนแปลงสรีระวิทยาจับความร้อน
การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในร่างกายในสภาพแวดล้อมที่มีอุณหภูมิสูงร่างกายจะปรับดุลยภาพของอุณหภูมิในร่างกาย
ผลกระทบของความร้อนต่อสุขภาพ
โรคผิวหนังจากความร้อนมีสาเหตุจากท่อขับเหงื่ออุดตันส่วนใหญ่จะพบมากบนฝ่ามือและบริเวณที่เสียดสีบ่อยๆ
บวมจากความร้อนเกิดจากการปฏิบัติงานสัมผัสความร้อนมากเกินไปทําให้หลอดเลือดขยายตัวมากขึ้น
สองแสงสว่าง
แสงสว่างเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่งโดยแสงสว่างที่ตามองเห็นมีความยาวคลื่นตั้งแต่ 400 ถึง 700 นาโนเมตร
ความเข้มของการส่องสว่างใช้หน่วยวัดเป็นลักซ์
วัดด้วยเครื่องวัดแสงเรียกว่าลักซ์มิเตอร์ หรือโฟโตมิเตอร์
แหล่งกําเนิดพลังงานจากแสงสว่าง
1 แสงสว่างจากธรรมชาติคือดวงอาทิตย์
2 แสงสว่างจากการประดิษฐ์ เช่น หลอดไฟฟ้าชนิดต่างๆ
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับแสงสว่าง
ปัญหาที่พบได้บ่อยคือความเข้มของแสงสว่างที่มากหรือน้อยเกินไป
การควบคุมและป้องกันอันตราย
1 การจัดการกับแหล่งแสงสว่าง
2 แสงสว่างที่ควรหลีกเลี่ยง
เสียงดัง
ลักษณะของเสียงคลื่นเสียง คือเสียงที่มนุษย์ได้ยินนั้นมนุษย์รู้ว่าเป็นเสียง อะไรก็อาศัยการรับรู้ของครูและสมอง
เสียงถูกแบ่งออกได้เป็น 4 ชนิด
1 เสียงที่ดังสม่ำเสมอ
2 เสียงที่เปลี่ยนแปลงระดับเสมอ
3 เสียงที่ดังเป็นระยะ
4 เสียงกระทบ
ผลกระทบของเสียงดังต่อสุขภาพ
1 อันตรายต่อระบบการได้ยินของมนุษย์
2 อันตรายต่อสุขภาพจิต
3 อันตรายต่อความปลอดภัยในการทํางาน
ความกดดันบรรยากาศที่ผิดปกติ
หมายถึงความกดดันบรรยากาศที่เปลี่ยนแปลงไปจากความกดดันปกติที่ ระดับนำ้ทะเลคือ 760
มิลลิเมตรของปรอทพบได้ในกลุ่มอาชีพนักประดาน้ำผู้ประกอบอาชีพ ในอุโมงค์และบ่อใต้น้ำ
อาชีพกลุ่มเสี่ยง
นักประดาน้ำงานขุดอุโมงค์ อู่ต่อเรือและผู้ประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมในทะเลลึกวางท่อใต้ทะเลและผู้ประกอบอาชีพใต้ทะเล
อันตรายต่อความกดดันบรรยากาศที่ผิดปกติ
1อันตรายจากความกดดันบรรยากาศสูง
2 อันตรายต่อความกดดันบรรยากาศตำ่
การป้องกันระยะเริ่มแรกจากความกดดันบรรยากาศตำ่
1 จัดอบรมให้ความรู้ในการปฏิบัติตัวให้ถูกต้องก่อนที่จะเข้าทํางาน
2 ตรวจสุขภาพร่างกายผู้ประกอบอาชีพก่อนเข้าปฏิบัติงาน
3 ใช้มาตรการทางกฎหมายควบคุมอย่างเคร่งครัด
ความสั่นสะเทือน
ลักษณะของการสั่นสะเทือนการสั่นสะเทือนเกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ขึ้นลง หรือ แกว่งไปมาของวัตถุ
การสั่นสะเทือนแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด
1 การสั่นสะเทือนทั้งร่างกาย
2 การสั่นสะเทือนเฉพาะบางส่วนของร่างกายโดยเฉพาะมือและแขน
อันตรายของการสั่นสะเทือน
1 การสั่นสะเทือนทั้งร่างกาย
2 การสั่รสะเทือนเฉพาะบางส่วนของร่างกาย
สิ่งคุกคามจากการทํางานทางชีวภาพ
ประเภทของโรคติดเชื้อ
โรคติดเชื้อจากการประกอบอาชีพ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
กลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
กลุ่มที่ไม่ใช่บุคลากรทางการแพทย์
การป้องกันควบคุมการติดเชื้อจากการทํางานในโรงพยาบาล
1 การวางแผนเพื่อลดโอกาสในการแพร่เชื้อโรคในผู้ป่วยบุคลากรทางการแพทย์
2 การล้างมือให้สะอาดด้วยการใช้เทคนิค universal precaution
3 สวมใส่อุปกรณ์ที่เหมาะสมเพื่อลดการรับสัมผัสกับสารคัดหลั่ง เลือดเมื่อแ
ละของเหลวที่ได้รับจากผู้ป่วย
4 ประเมินสุขภาพของบุคลากรทางการแพทย์ก่อนการจ้างงาน
5 จัดโครงการดูแลสุขภาพบุคลากรทางการแพทย์ประจํา
สิ่วคุกคามจากการทํางานทาง เออร์โกโนมิกส์
Ergonomics หรือ การยศาสตร์เป็นสภาพแวดล้อมในการทํางานประเภทหนึ่งว่าด้วยเรื่องของการศึกษาสภาพการทํางานที่มีความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมในการทํางาน
ปัญหาเออร์โกโนมิกส์
การปฏิบัติงานในสถานที่ที่ไม่ได้รับการออกแบบให้ถูกต้องเหมาะสมตามหลักเออร์โกโนมิกส์ อาจเป็นสาเหตุให้เกิดความผิดปกติของกล้ามเนื้อและกระดูกจากการทํางาน
ตัวอย่างการจัดสภาพแวดล้อมการทํางานใหเ้ หมาะสมกับผู้ปฏิบัติงาน
1 การเพิ่มระดับความสูงของโต๊ะทํางานให้มีระดับความสูงที่เหมาะสมกับส่วนสูงของผู้ปฏิบัติงานเพื่อจะได้ไม่ต้องก้มโน้มตัวเข้าใกล้ชิ้นงาน
2 การจัดให้มีเก้าอี้และที่วางพักเท้าเพื่อให้พนักงานที่ต้องยืนทํางานด้วยนั่ง และวางพักเท้าในระหว่างช่วงพัก
3 การออกแบบให้ด้ามจับของเครื่องมือง่ายต่อการจับถือไม่ต้องบิดงอข้อมือ
ความผิดปกติของร่างกายที่เกิดจาก เออร์โกโนมิกส์
1 อักเสบเกิดจากการเคลื่อนไหวซ้าซากจําเจ
2 โลกกลุ่มอุโมงค์คาร์ปาล เกิดจากการทํางานถูกต้องบิดข้อมือใช้ช้า ๆ การใช้เครื่องมือที่มีความสั่นสะเทือน
3 โรคนิ้วไกปืนหรือ เรียกว่า โรคนิ้วล็อคเกิดจากการเกร็งนิ้วมือช้า ๆ
สิ่งคุกคามจากการทํางานทางเคมี
หมายถึงสารเคมีที่มีลักษณะเฉพาะที่เป็นสาเหตุทําให้เกิด อันตรายต่อสุขภาพอย่างรุนแรงเมื่อมีการสลายตัวมีการระ เบิดลุกไหม้หรือคุณสมบัติที่ระเหยได้
อันตราย หรือผลกระทบต่อสุขภาพของสารเคมี
1การขาดอากาศหายใจ
2 การระคายเคือง
3 อันตรายต่อระบบการสร้างโลหิต
4 อันตรายต่อระบบประสาท
5 การเปลี่ยนแปลงกระบวนการเมตาบอลิซึม
6 อันตรายต่อกระดูก
7 อันตรายต่อระบบหายใจ
8 ความผิดปกติทางพันธุกรรม
9 ความผิดปกติในทารก
10 มะเร็ง
คําจํากัดความและลักษณะของสารเคมี
1 ไอระเหยเป็นไอที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นของเหลว
2 ฝุ่นอนุภาคของวัตถุของแข็ง
3 ก๊าซของเหลวที่มีปริมาตรหรือรูปทรงไม่แน่นอน
4 ฟูม อนุภาคของวัตถุแข็งที่มีขนาดเล็กมาก
5 ละอองวัตถุเหลวที่ล่องลอยอยู่ได้ในอากาศ
6 วัดอนุภาคของคาร์บอนที่เกิดจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ
7 ตัวทําละลายของเหลวอนิทรีย์
8 ของเหลวสารที่มีรูปร่างไม่แน่นอน
สารเคมีที่ฟุ้งกระจายในบรรยากาศการทํางาน
1 สารเคมีฟุ้งกระจายในรูปอนุภาค
2 สารเคมีฟุ้งกระจายในรูปก๊าซและไอระเหย
632051172 วาฮีดะห์ สิเดะ
สาธารณสุขศาสตร์