Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความหลากหลายของพรรณไม้ในวนอุทยานภูผาล้อม อำเภอนาด้วง จังหวัดเลย,…
ความหลากหลายของพรรณไม้ในวนอุทยานภูผาล้อม อำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
วัสดุอุปกรณ์/วีธีการศึกษา
วางแปลงตัวอย่างแบบสี่เหลี่ยมขนาด 20*20 เมตร จำนวน 7 แปลงเพื่อสำรวจพรรณไม้ยืนต้น (พรรณไม้สูงมากกว่า130 เซนติเมตร)
วางแปลงย่อยขนาด5*5เมตร ในแปลงตัวอย่าง4แปลงแปลงละ1แปลงย่อย (เฉพาะป่าดงดิบ)เพื่อสำรวจและเก็บรวบรวมข้อมูลพรรณไม้ล่าง เพื่อคำนวณหาค่าความหลากหลายของชนิด
ศึกษาพรรณไม้ด้วยการสุ่มวางแปลงตัวอย่างตามวิธีการของ Krebs
เก็บตัวอย่าง และถ่ายภาพตัวอย่างเพื่อศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา และเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ โดยการสัมภาษณ์คนในชุมชน
ผลการศึกษา
อนุกรมวิธานของพรรณไม้วนอุทยานภูผลล้อม
พบพรรณไม้ทั้งสิ้น 37 วงศ์ 57 สกุล 66ชนิด
จัดเป็นพืชใบเลี้ยงคู่ 31 วงค์ 49 สกุล 58 ชนิด พืชใบเลี้ยงเดี่ยว 6 วงศ์ 8 สกุล 8 ชนิด
การใช้ประโยชน์พรรณไม้วนอุทยานภูผาล้อม จากการสอบถามพบว่า มีการใช้ประโยชน์จากพืชในหลายรูปแบบ ได้แก่
พืชที่ใช้สร้างที่อยู่อาศัย เชื้อเพลิง เครื่องเรือน และปลูกประดับ เช่น เต็ง รัง คูน พลวง ประดู่ป่า มะหาด เป็นต้น
พืชที่ใช้เป็นสมุนไพร เช่น มะกอก มะดูก ขี้เหล็กป่า อบเชยย่อป่า เป็นต้น
พืชที่ใช้เป็นอาหารมนุษย์และสัตว์ เช่น ข่อยหนาม ลิ้นกวาง กระโดน หว้า ตะคร้อ ตากวาง เป็นต้น
พืชที่ใช้ในพิธีกรรม สัญลักษณ์และความเชื่อต่างๆ เช่น ขี้เหล็กป่า คูน มะหาด ยอป่า เป็นต้น
พืชที่ใช้เป็นสีย้อม ่น มะเกลือ ตับเต่าต้น ย่อป่า เหมือนโลด เป็นต้น
ความหลากหลายของพรรณไม้วนอุทยานภูผาล้อม
ค่าความหลากหลายของพรรณไม้ยืนต้น พบว่าค่าดัชนีความหลากชนิด มีค่าเท่ากับ 2.88413 ค่าความหลากชนิด มีค่าเท่ากับ 17.88802 ค่าความสม่ำเสมอในการเระจายตัว มีค่าเท่ากับ 0.73724
ค่าความหลากหลายของไม้พื้นล่าง ค่าดัชนีความหลากชนิด มีค่าเท่ากับ 2.00709 ค่าความหลากชนิด มีค่าเท่ากับ 7.44163 ค่าความสม่ำเสมอในการเระจายตัว มีค่าเท่ากับ 0.70841
ไม้ยืนต้นที่มีค่าดัชนีความสำคัญสูงสุดคือ เต็ง มีค่าเท่ากับ 31.60796 รองลงมาคือ ข่อยหนาม สมพง ข่อยใบกว้าง ตามลำดับ
พรรณไม้ยืนต้น 27 วงศ์ 43 สกุล 49 ชนิด และไม้พื้นล่าง 13 วงศ์ 16 สกุล 17ชนิด
สรุปผลการศึกษา
ถือเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญของชุมชนเป็นอย่างยิ่ง แต่ถ้าไม่มีการดูแล ควบคุม อาจจะส่งผลต่อระบบนิเวศของป่า
ซึ่งผลการวิจัยนี้จะเป็นแนวทางการนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานที่แสดงให้เห็นถึงความหลากหลายทางชีวภาพืี่สำคัญและน่าหวงแหนต่อไป
พื้นที่ป่าในวนอุทยานภูผาล้อม ยังมีความอุดมสมบูรณ์ของพรรณไม้ขนาดใหณ่อยู่เป็นจำนวนมาก
บทนำ
การศึกษาความหลากหลายของพรรณไม้และการใช้ประโยชน์จากพรรณไม้ในพื้นที่วนอุทยานภูผาล้อมจะเป็นโยชน์ต่อการทำเป็นข้อมูลพื้นฐานและสามารถนำไปเป็นแนวทางในการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ต่อไป
วิจารณ์ผล
พรรณที่บได้น้อยในพื้นที่ป่าอาจมาจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของพรรณไม้ และมีการนำไปประโยชน์จำนวนมากทำให้ต้นไม้ลดลงอย่างรวดเร็ว
เมื่อนำดัชนีความหลากหลายมาเทียบกับจ.มหาสารคามพบว่า ค่าดัชนีความหลากหลายของภูผาล้อมมีค่าน้อยกว่าแสดงให้เห็นถึงความอุดมสมบูรณ์ของไม้ยืนต้นที่น้อยกว่า
การนำพรรณไม้ของวนอุทยานภูผาล้อมไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ สอดคล้องกับการศึกษาด้านพฤกษศาสตร์พื้นบ้านในพื้นที่ป่าชุมชน เนื่องจากการใช้พื้นที่ป่าที่หลากหลายจากพื้นที่ป่า
นางสาวสริตา กัลพฤกษ์ รหัสนักศึกษา 611120418 Gen-Science