Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การออกแบบการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน, นางสาวนภัสสร อินรัญ…
การออกแบบการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
วิธีการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
1 การกำหนดตามเกณฑ์
ถ้าขนาดของกลุ่มประชากรมีจำนวนเป็นพัน ควรใช้กลุ่มตัวอย่างอย่างน้อยร้อยละ 10
ถ้าขนาดของกลุ่มประชากรมีจำนวนเป็นหมื่น ควรใช้กลุ่มตัวอย่างอย่างน้อยร้อยละ 1
ถ้าขนาดของกลุ่มประชากรมีเป็นจำนวนร้อย ควรใช้กลุ่มตัวอย่างอย่างน้อยร้อยละ 25
2 การใช้ตารางสำเร็จรูป
ตารางสำเร็จรูปทาโร ยามาเน่
ตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน
3 การใช้สูตรคำนวณ
สูตรของทาโร ยามาเน่
สูตรของเครจซี่และมอร์แกน
การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
ทรัพยากรและเวลาที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าใช้จ่าย แรงงาน เวลา และเครื่องมือที่ใช้
ลักษณะของประชากร เป็นปัจจัยสำคัญในการกำหนดขนาดของประชากร
ความคลาดเคลื่อนจากการสุ่มตัวอย่าง ให้เกิดความคลาดเคลื่อน 1% หรือ 5%
ขนาดของประชากร ว่ามีขนาดใหญ่หรือเล็กเพียงใด
ขนาดของกลุ่มตัวอย่างจำนวนน้อยที่สุดสามารถยอมรับได้ขึ้นอยู่กับชนิดของการวิจัย
กลุ่มตัวอย่างควรมีจำนวนมากเท่าที่สมมารถทำได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการออกแบบการวิจัย
จุดมุ่งหมายของการออกแบบการวิจัย
1 เพื่อให้ได้คำตอบในปัญหาการวิจัยอย่างถูกต้อง
2 เพื่อควบคุมความแปรปรวนของตัวแปรในการวิจัย
การควบคุมอิทธิพลของสิ่งต่างๆที่ไม่อยู่ในขอบข่ายของวิจัยแต่ส่งผลมากที่สุด
การศึกษาให้ครอบคลุมขอบข่ายของปัญหาการวิจัยให้มากที่สุด
การลดความผิดพลาดคลาดเคลื่อนให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้
การจัดดำเนินการแบบสุ่ม
การสุ่มตัวอย่างเข้าสู่กลุ่มการทดลอง
การสุ่มตัวอย่างจากประชากร
องค์ประกอบของการออกแบบการวิจัย
2 การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง
การกำหนดรูปแบบและวิธีการสุ่มตัวอย่าง
การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสม
3 การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล
การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การเลือกใช้สถิติที่สอดคล้องกับคำถามวิจัย
การเลือกใช้สถิติเชิงสรุปอ้างอิงจากกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสม
การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
1 การออกแบบการวัดตัวแปร
การกำหนดรูปแบบและวิธีการวัดตัวแปรที่ศึกษา
การกำหนดรูปแบบและวิธีวัดค่าหรือควบคุมตัวแปรเกิน
การออกแบบการวิจัย
3 การวิจัยเชิงพัฒนาการ
การศึกษาภาคตัดขวาง
การศึกษาระยะยาว
5 การวิจัยเชิงวิเคราะห์เนื้อหา
บรรยายความถี่และลำดับความสำคัญของเนื้อหาที่นำเสนอในเอกสาร
ประเมินความลำเอียงของเนื้อหาที่นำเสนอ
ระดับความยากของเนื้อหาที่นำเสนอ
วิเคราะห์ประเภทความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้น
2 การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์
4 การวิจัยศึกษาเฉพาะกรณี
1 การวิจัยเชิงสำรวจ
ประเภทของการออกแบบการทดลอง
2 การวิจัยกึ่งทดลอง
รูปแบบกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมวัดก่อนหลังการทดลอง
3 การวิจัยเชิงทดลองอย่างแท้จริง
รูปแบบที่ 1 กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยการสุ่ม วัดหลังการทดลอง
รูปแบบที่ 2 กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยการสุ่ม วัดก่อนหลังการทดลอง
1 การวิจัยเชิงทดลองขั้นต้น
รูปแบบที่ 1 กลุ่มเดียว วัดหลังการทดลอง
รูปแบบที่ 2 กลุ่มเดียว วัดก่อนหลังการทดลอง
หลักการสุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มของสิ่งต่างๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของประชากรที่ผู้วิจัยสนใจ กลุ่มตัวอย่างที่ดีหมายถึงกลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะต่างๆที่สำคัญครบถ้วนเหมือนกับประชากร
ขั้นตอนการสุ่มตัวอย่าง
กำหนดวิธีการสุ่มตัวอย่าง
กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
กำหนดกรอบตัวอย่าง
ดำเนินการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
กำหนดประชากรเป้าหมาย
ประชากรในงานวิจัย
กลุ่มของสิ่งต่างๆทั้งหมดที่ผู้วิจัยสนใจซึ่งอาจจะเป็นกลุ่มของสิ่งของ คน หรือเหตุการณ์ต่างๆ
วิธีการสุ่มตัวอย่าง
การสุ่มที่ไม่คำนึงถึงความน่าจะเป็นในการสุ่ม
2 การสุ่มแบบโควตา
3 การเลือกแบบเจาะจง
1 การสุ่มแบบบังเอิญ
การสุ่มที่คำนึงถึงความน่าจะเป็นในการสุ่ม
3 การสุ่มตัวอย่างแบบเลือกเป็นคู่
4 การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิ
2 การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ
5 การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มหรือพื้นที่
1 การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย
6 การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน
นางสาวนภัสสร อินรัญ รหัสนักศึกษา 611120404
คณะครุศาสตร์ โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป