Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 นวัตกรรมการเรียนรู้ - Coggle Diagram
บทที่ 7 นวัตกรรมการเรียนรู้
นวัตกรรมการเรียนรู้ เป็นวิธีการจัดการเรียนรู้เพื่อ
พัฒนาผู้เรียน
ด้านความรู้
ด้านทักษะ กระบวนการ
ด้านเจตคติกลยุทธ์สําคัญ
ความหมายของนวัตกรรมคือ
การนําเอาสิ่งใหมซึ่งอาจจะ อยู่ในรูปของความคิดหรือการกระทํา รวมทั้งสิ่งประดิษฐก็ตามเขามาใช้ในระบบการศึกษา เพื่อมุ่งหวัง ที่จะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ จะแบ่งเป็น 4 กลุ่มดังนี้
นวัตกรรมการเรียนรูที่เน้นการจัดสารสนเทศ
ความหมาย คือ
การเรียนรู้ที่พัฒนา
ผู้เรียนให้มี โอกาสในการเรียนรู้ด้วย
วิธีการสร้างองค์ความรู้ ที่มาจากการค้นหาข้อมูลโดยอาศัยวิธีการต่างๆที่หลากหลาย
การจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism)
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ มี 5 ขั้นตอน ดังนี้
1.2.1 ขั้นแนะนํา (Orientation) เป็นขั้นที่ผู้เรียนจะรับรู้ถึงจุดมุ่งหมายของบทเรียน และมีแรงจูงใจในการเรียนรู ้
1.2.2 ขั้นทบทวนความรู้เดิม (Elicitation of the prior knowledge) เป็นขั้นที่ ผู้เรียนแสดงออกถึงความรู้ความเขาใจเดิมที่มีอยู่ในเรื่องที่กําลังจะเรียนรู ้
1.2.3 ขั้นปรับเปลี่ยนความคิด (Turning restructuring of ideas) เป็นขั้นตอนที่ สําคัญของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสร้างองค์ความรู้ ซึ่งประกอบด้วย ขั้นตอนย่อยดังนี้
1.2.3.1 ทําความกระจ่าง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน (Clarification and exchange of ideas) เป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้ทักษะการคิดเพื่อใหเกิดองค์ความรู ้
1.2.3.2 การสร้างความคิดใหม่ (Constructivism of new ideas) จากการ อภิปรายรว่มกันและสาธิต ทําให้ผู้เรียนสามารถกําหนดความคิดใหม่ หรือความรู้ใหม่ขึ้นได้
1.2.3.3 ประเมินความคิดใหม่ (Evaluation of the new ideas) โดยการ ทดลองหรือการคิดอยางลึกซึ้ง
1.2.4 ขั้นนําความคิดไปใช้(Application of ideas) เป็นขั้นตอนที่ผู้เรียนมีโอกาส ใช้แนวคิดหรือความรู้ความเข้าใจมาพัฒนา ทําให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
1.2.5 ขั้นทบทวน (Review) เป็นขั้นตอนสุดท้าย ผู้เรียนจะได้ทบทวนความคิด ความเข้าใจ โดยการเปรียบเทียบความคิด ระหว่างความคิดเดิมกับความคิดใหม่
1.3 การนํานวัตกรรมการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ มีดังนี้
1.3.1 แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สามารถนําไปปรับ ใช้กับผู้เรียนได้ทุกระดับชั้น
1.3.2 การนําแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ด้่วยตนเอง สู่การปฏิบัติ จริงในห้องเรียน ผู้สอนควรให้ความสําคัญและมีความชัดเจนในขั้นตอนของแนวทางการจัดการเรียนรู้
1.3.3 ควรนําแนวทางการจัดการเรียนรูแบบสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองไปบูรณาการกับรูปแบบการเรียนรู้อื่นเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลในการเรียนการสอนมากยิ่งขึ้น
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
2.1 แนวคิดของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
2.1.1 เกิดขึ้นในชีวิตจริงและเกิดจากประสบการณ์ของผู้เรียนหรือผู้เรียนอาจมี อกาสเผชิญกับปัญหานั้น
2.1.2 เป็นปัญหาที่พบบ่อย มีความสําคัญมีขอมูลประกอบ เพียงพอสําหรับการ ค้นควา
ความหมาย
เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่เริ่มตนจากปัญหาที่เกิดขึ้นโดย
สร้างความรู้จากกระบวนการทํางานกลุ่มเพื่อแก้ปัญหา
2.1.3 เป็นปัญหาที่ยังไมมีคําตอบชัดเจนตายตัว เป็นปัญหาที่มีความซับซ้อน คลุมเครือ หรือผู้เรียนเกิดความสงสัย
2.1.4 ข้อถกเถียงในสังคมที่ยังไม่มีขอยุติ
2.1.5 เป็นปัญหาที่อยู่ในความสนใจ
2.1.6 ปัญหาที่สร่างความเดือดรอน เสียหาย เกิดโทษภัย และเป็นสิ่งไม่ดีหากใช้ข้อมูลโดยลําพังคนเดียวอาจทําให้ตอบปัญหาผิดพลาด
2.1.7 เป็นปัญหาที่มีการยอมรับวาจริง ถูกต้องแต่ผู้เรียนไม่เชื่อว่าจริง ไม่สอดคลอง กับความคิดของผู้เรียน
2.1.8 ปญหาที่อาจมีคําตอบหรือมีแนวทางในการแสวงหาคําตอบไดหลายทาง ครอบคลุมการเรียนรูที่กวางขวางหลากหลายเนื้อหา
2.1.9 เป็นปัญหาที่มีความยากความง่าย เหมาะสมกับพื้นฐานของผู้เรียน
2.1.10 เป็นปัญหาที่ไม่สามารถหาคําตอบได้ทันที ต้องการสํารวจคนคว้า
การจัดการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน (Problem based learning)
การจัดการเรียนรูแบบคนพบ (Discovery learning)
2 นวัตกรรมการเรียนรูที่เนนการพัฒนาพฤติกรรม
ความหมายคือเป็นรูปแบบการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการ พัฒนาพฤติกรรมการแสดงออกและทักษะการปฏิบัติของผู้เรียนเน้นการพัฒนาพฤติกรรมได้แก่
การจัดการเรียนรู้แบบรอบรู้ (Mastery learning)
1.1 แนวคิดของการจัดการเรียนรู้แบบรอบรู้มีความสัมพันธ์กับเวลาที่ผู้เรียนได้รับในการเรียนรู้ และเชื่อวาจะเรียนรู้ได้ตามวัตถุประสงค์หากผู้เรียนได้รับเวลาที่มากพอขึ้นอยู่กับ
ลักษณะของผู้เรียน
ลักษณะของการสอน
1.2 ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ ไม่ได้เน้นเนื้อหาของบทเรียนกระบวนนําผู้เรียนเขาถึงแกนแทของเนื้อหาวิชา
1.2.1 อธิบายวัตถุประสงค์ของบทเรียนอย่างละเอียด
1.2.2 แบ่งบทเรียนออกเป็นหน่วยย่อยๆ หลักเกณฑ์ การประเมินที่ชัดเจน
1.2.3 แต่ละหนวย เริ่มดวยการประเมินความรู้พื้นฐานของผู้เรียน โดยการทดสอบ วินิจฉัยความรู้ จุดบกพร่องสู่ผู้เรียนทันทีเพื่อพัฒนาความรู้ของตนเองต่อไป
1.2.4 ผู้เรียนยังต้องผานการทดสอบโดยการประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ ได้แก่การ ประเมินความก้าวหน้า อย่างต่อเนื่อง การประเมินเมื่อสิ้นสุดบทเรียน ด้วยรูปแบบที่หลากหลายในทุกๆหนวยการเรียนรู้
1.2.5 ผลของการประเมินความก้าวหน้าในแต่ละครั้งนอกจากจะเป็นข้อมูลย้อนกลับ ไปสู่ผู้เรียนแล้ว ยังนําไปปรับปรุงแก้ไขพัฒนาบทเรียนในครั้งต่อๆไป
1.2.6 ผู้เรียนแต่ละคนจะเรียนรู้บทเรียน ตามความสามารถของตนเองตามเวลาที่ ตองการด้วยเหตุนี้ ผู้เรียนแต่ละคนจึงใช้เวลาในการเรียนที่แต่กต่างกัน
1.2.7 ผู้เรียนจะเรียนรู้ในหน่วยถัดไปได้ก็ต่อเมื่อได้เข้าใจถึงแก่นแท้ของบทเรียนแล้ว โดยผ่านการประเมินแบบอิงเกณฑ์
1.3 การนํานวัตกรรมการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้
1.3.1 กําหนดวัตถุประสงคอยางละเอียดในการเรียนรูเนื้อหาสาระ มีการ
จัดกลุมวัตถุประสงคและวัตถุประสงคจะตองบงบอกถึงสิ่งที่ผูเรียนจะตองกระทําใหไดเพื่อแสดงวาตน ไดเกิดการเรียนรูจริงในสาระนั้น ๆ ตามลําดับงายไปยาก
1.3.2 ผูสอนมีการวางแผนการเรียนรูสําหรับผูเรียนแตละคน หรือแตละกลุมให สามารถสนองตอบความถนัดที่แตกตางกันของผูเรียน
เพื่อชวยใหผูเรียนแตละคนสามารถเรียนรูไดบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนด
1.3.3 ผูสอนมีการชี้แจงใหผูเรียนเขาใจเกี่ยวกับจุดมุงหมาย วิธีการในการเรียนรู และระเบียบ กติกา ขอตกลงตาง ๆ เกี่ยวกับการทํางาน
1.3.4 ผูเรียนมีการดําเนินการเรียนรูตามแผนการเรียนรูที่ผูสอนจัดไวและมีการ ประเมินการเรียนรูตามวัตถุประสงคแตละขอ โดยผูสอนคอยดูและใหคําปรึกษาเปนรายบุคคล
1.3.5 หากผูเรียนบรรลุวัตถุประสงคหนึ่งที่กําหนดไวแลว จึงจะมีการดําเนินการ เรียนรูตามวัตถุประสงคขอถัดไปได
1.3.6 หากผูเรียนยังไมสามารถบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไว มีการ วินิจฉัยปญหา จัดโปรแกรมสอนซอมในสวนที่ยังไมสัมฤทธิ์ผล แล้วทำการประเมินอีกครั้ง
1.3.7 ผูเรียนมีการดําเนินการเรียนรูไปอยางตอเนื่องตามลําดับของวัตถุประสงค ใชเวลามากนอยตางกันอ
1.3.8 ผู้สอนมีการบันทึกผลการเรียนตามวัตถุประสงค์ และมีการใชขอมูลในการวาง แผนการเรียนรูใหแก ผูเรียนตอไป
การจัดการเรียนรูแบบ รวมมือ (Cooperative learning)
2.1 แนวคิดของการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียน ทํางานร่วมกันเป็นกลุ่มเล็กๆ โดยที่สมาชิกในกลุ่มมีความสามารถ ที่แตกต่างกัน
ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
2.1.1 การพึ่งพาอาศัยกันและกันทางบวก (Positive interdependence) ผูเรียนต้องตระหนักว่างานที่ทําด้วยกันเป็นงานกลุ่ม การที่งานจะบรรลุจุดประสงค์หรือประสบความสําเร็จหรือไม่นั้นขึ้นอยูกับสมาชิกทุกคนในกลุ่มต้องช่วยเหลือกันและต้องระลึกอยู่เสมอวา
2.1.2 การติดต่อปฏิสัมพันธ์โดยตรง (Face–to–face interaction) เป็นโอกาสให้สมาชิกได้เสนอแนวความคิดใหม่ๆ เพื่อเลือกสิ่งที่ถูกต้องและเหมาะสมที่สุด
2.1.3 การรับผิดชอบต่อตนเอง (Individual accountability and personal responsibility) คือการที่สมาชิกในกลุ่มมีความเข้าเหมือนกัน ในบทเรียน
2.1.4 ทักษะในการสัมพันธกับทักษะการทํารวมกันในกลุ่มขนาดเล็ก (Interpersonal and Small group skill) ผู้เรียนทำงานได้อย่างเข้ากัน ครูต้องฝึกให้ผู้เรียนทําความรู้จัก และไว้วางใจกัน พูดสื่อความหมายกันได้ชัดเจน ยอมรับความคิดเห็น และให้การสนับสนุนซึ่งกัน
2.1.5 กระบวนการกลุ่ม (Group processing) ทุกคนในกลุ่มตองรู้จักช่วยกันทํางาน อภิปราย แสดงความคิดเห็น เมื่องานเสร็จแล้วผู้เรียนในกลุ่มสามารถบอกที่มาของผลลัพธได้ สามารถวิเคราะห์การทํางานของกลุ่ม และหาวิธีปรับปรุงการทํางานของกลุ่มให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
1.3 การนํานวัตกรรมการเรียนรู้ไปประยุกตใช้
1.3.1 กําหนดวัตถุประสงคอยางละเอียดในการเรียนรูเนื้อหาสาระ มีการ จัดกลุ่มวัตถุประสงค์และวัตถุประสงค์จะต้องบ่งบอกถึงสิ่งที่ผู้เรียนจะต้องกระทําให้ได้เพื่อแสดงว่าตน ได้เกิดการเรียนรู้จริงในสาระนั้น ๆ ตามลําดับง่ายไปยาก
1.3.2 ผู้สอนมีการวางแผนการเรียนรู้สําหรับผู้เรียนแต่ละคน หรือแต่ละกลุ่มให้ สามารถสนองตอบความถนัดที่แตกตางกันของผู้เรียน เพื่อช่วยใหผู้เรียนแต่ละคนสามารถเรียนรู้ได้บรรลุวัตถุประสงคที่กําหนด
1.3.4 ผู้เรียนมีการดําเนินการเรียนรู้ตามแผนการเรียนรู้ที่ผู้สอนจัดไว้และมีการ ประเมินการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์แต่ละข้อ โดยผู้สอนค่อยดูและให้คําปรึกษาเป็นรายบุคคล
1.3.5 หากผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์หนึ่งที่กําหนดไว้แล้ว จึงจะมีการดําเนินการ เรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ขอถัดไปได้
1.3.6 หากผู้เรียนยังไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้ มีการ วินิจฉัยปัญหา จัดโปรแกรมสอนซ่อมในส่วนที่ยังไม่สัมฤทธิ์ผล แล้วทำการประเมินอีกครั้ง
1.3.7 ผูเรียนมีการดําเนินการเรียนรูไปอยางตอเนื่องตามลําดับของวัตถุประสงค ใชเวลามากนอยตางกัน
1.3.8 ผู้สอนมีการบันทึกผลการเรียนตามวัตถุประสงค์ และมีการใชขอมูลในการวาง แผนการเรียนรูใหแก ผูเรียนตอไป
1.3.3 ผู้สอนมีการชี้แจงให้ผู้เรียนเข้าใจเกี่ยวกับจุดมุ่งหมาย วิธีการในการเรียนรู้ และระเบียบ กติกา ข้อตกลงต่าง ๆ เกี่ยวกับการทํางาน
การจัดการเรียนรูแบบรวมมือ
2.1 แนวคิดของการจัดการเรียนรูแบบรวมมือ เปนการจัดการเรียนรูที่เนนใหผูเรียน ทํางานรวมกันเปนกลุมเล็กๆ
2.1.1 การพึ่งพาอาศัยกันและกันทางบวก (Positive interdependence) ผูเรียนตองตระหนักวางานที่ทําดวยกันเปนงานกลุม การที่งานจะบรรลุจุดประสงคหรือประสบ ความสําเร็จหรือไมนั้นขึ้นอยูกับสมาชิกทุกคนในกลุมตองชวยเหลือกันและตองระลึกอยูเสมอ
2.1.2 การติดตอปฏิสัมพันธโดยตรง (Face–to–face interaction) เปด โอกาสใหสมาชิกไดเสนอแนวความคิดใหมๆ เพื่อเลือกสิ่งที่ถูกตองและเหมาะสมที่สุด
2.1.3 การรับผิดชอบตอตนเอง (Individual accountability and personal responsibility) คือการที่สมาชิกในกลุ่มมีความเข้าเหมือนกัน ในบทเรียน
2.1.4 ทักษะในการสัมพันธกับทักษะการทํารวมกันในกลุมขนาดเล็ก (Interpersonal and Small group skill) ผู้เรียนทำงานได้อย่างเข้ากัน ครูตองฝกใหผูเรียนทําความรูจัก และไววางใจกัน พูดสื่อความหมายกันไดชัดเจน ยอมรับความคิดเห็น และใหการสนับสนุนซึ่งกัน
2.1.5 กระบวนการกลุม (Group processing) ทุกคนในกลุมตองรูจักชวยกันทํางาน อภิปราย แสดงความคิดเห็น เมื่องานเสร็จแลวผูเรียนในกลุมสามารถบอกที่มาของผลลัพธได สามารถ วิเคราะหการทํางานของกลุม และหาวิธีปรับปรุงการทํางานของกลุมใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
2.2 ขั้นตอนการจัดการเรียนรู เนื่องจากการจัดการเรียนรูแบบรวมมือ มีแนวคิดและ องคประกอบของการจัดการเรียนรูตามที่กลาวมาในขอ
2.1 แลวนั้น ขั้นตอนการจัดการเรียนรูอาจมี ความหลากหลายแตกตางกันไปตามเทคนิคที่ใชซึ่ง กรมวิชาการ (2545 : 117-119) ไดนําเสนอ เทคนิคและขั้นตอนที่นํามาใชในการจัดการเรียนรูแบบรวมมือไวดังนี้
9 more items...
2.3 การนํานวัตกรรมไปประยุกตใช
2.3.1 การจัดการเรียนรูแบบรวมมือเปนลักษณะการจัดการเรียนรูที่ผูเรียนทํางาน รวมกันเปนกลุม ทุกเทคนิควิธีจะตองมีการจัดกลุม จัดกลุมแบบคละเพศ คละความสามารถที่เปนกลุมวิวิธพันธ (Heterogeneous group) (Homogeneous group) กาสที่ผูเรียนจะไมคละเพศ ไมคละความสามารถ
2.3.2 ลักษณะการจัดกลุมในการจัดการเรียนรูแบบรวมมือ มีอยู 3 แบบ คือ
2.3.1.1 Informal cooperative learning group เป็นการแบ่งกลุ่มการเรียนแบบชั่วคราว ใหผูเรียนมีสวน
การจัดการเรียนรูแบบซิปปา (CIPPA)
การจัดการเรียนรูแบบซิปปา
3.1 แนวคิดของการจัดการเรียนรูแบบซิปปา ผูเรียนกลายเปนศูนยกลางของการเรียนการสอน และได้ลงมือปฏิบัตมี สวนรวมในกิจกรรมการเรียนรู
3.2 ขั้นตอนการจัดการเรียนรูแบบซิปปา มีขั้นตอนการดําเนินการที่สําคัญ 7 ขั้นตอน
่1 การทบทวนความรูเดิม
2 การแสวงหาความรูใหม
3 การศึกษาทําความเขาใจขอมูล/ความรูใหม
4 การแลกเปลี่ยนความรูความเขาใจกับกลุม
6 การปฏิบัติและหรือการแสดงผลงาน
7 การประยุกตใชความร
5 การสรุปจัดระเบียบความร
3.3 การนํานวัตกรรมการเรียนรูไปประยุกตใช ใช้แผนการจัดการเรียนรที่มีอยู่แล้วมาใช้แล้วพิจารณาหากขาดลักษณะใด ไปหรือขาดแนวคิดใดไป ก็พยายามคิดหากิจกรรมที่จะชวยเพิ่มลักษณะดังกลาวลงไป
นวัตกรรมการเรียนรูที่เนนการพัฒนาทักษะกระบวนการ
ความหมายคือ
เปนรูปแบบการเรียนรูที่เนนให ผูเรียนฝกทักษะกระบวนการปฏิบัติเพื่อพัฒนาการเรียนรูของตนเอง เชน การจัดการเรียนรูแบบ
วัฎจักรการสืบเสาะหาความรู (Inquiry cycle)
1.1 แนวคิดของการจัดการเรียนรูแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความร มีอยู่ 5 ขั้นตอน
1) ขั้นสรางความสนใจ
2) ขั้นสํารวจและคนหา
3) ขั้นอธิบายและลงขอสรุป
4) ขั้นขยายความร
5) ขั้นประเมิน
1.2 การนํานวัตกรรมไปประยุกตใชสามารถนําไปใชไดกับทุกรายวิชา
การจัดการเรียนรูแบบโครงงาน (Project approach)
2.1 แนวคิดของการเรียนรูแบบโครงงาน เปนกระบวนการแสวงหาความรู หรือการคนควาหาคําตอบในสิ่งที่ผูเรียนอยากรูหรือสงสัยดวยวิธีการตางๆ
2.2 ขั้นตอนการจัดการเรียนรูการเรียนรูแบบโครงงานเปนการเรียนรูที่เชื่อมโยง หลักการพัฒนาการคิดของ Bloom Revised ทั้ง 6 ขั้น
จํา (Remembering)
เขาใจ
(Understanding)
ประยุกตใช (Applying)
วิเคราะห (Analyzing)
ประเมินคา (Evaluating)
คิดสรางสรรค (Creating)
การจัดการเรียนรูแบบกระบวนการแกปญหา
3.2.1 ขั้นกําหนดปญหา ปญหาที่นํามาใชในบทเรียนอาจไดมาจากแหลงตางๆ เชน ภาพเหตุการณ การ
3.2.2 ขั้นตั้งสมมติฐานสมมติฐานจะเกิดขึ้นไดจากการสังเกต การรวบรวมขอมูล ขอเท็จจริงและประสบ
3.2.4 ขั้นวิเคราะหขอมูลเปนขั้นตอนนําเสนอขอมูลที่ไดจากการสืบคนหรือทํา การทดลองนํามาตี คอย
3.2.5 ขั้นสรุปและประเมินผลเปนขั้นสุดทายของกระบวนการเรียนรูแบบ กระบวนการแกปญหาเปนการส
3.3 การนํานวัตกรรมไปประยุกตใช
การจัดการเรียนรูแบบกระบวนการแกปญหา(Problem solving)
3.2.1 ขั้นกําหนดปญหา ปญหาที่นํามาใชในบทเรียนอาจไดมาจากแหลงตางๆ เชน ภาพเหตุการณ การ
3.2.2 ขั้นตั้งสมมติฐานสมมติฐานจะเกิดขึ้นไดจากการสังเกต การรวบรวมขอมูล ขอเท็จจริงและประสบ
3.2.3 ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นขั้นตอนของการรวบรวมข้อมูลจากการอ่าน การ
สังเกต การสัมภาษณ์ การสืบค้นข้อมูลด้วยวิธีการต่างๆ
3.2.4 ขั้นวิเคราะหขอมูลเปนขั้นตอนนําเสนอขอมูลที่ไดจากการสืบคนหรือทํา การทดลองนํามาตี คอย
3.2.5 ขั้นสรุปและประเมินผลเปนขั้นสุดทายของกระบวนการเรียนรูแบบ กระบวนการแกปญหาเปนการส
การจัดการเรียนรูดวย วิธีการทางประวัติศาสตร(Historical method)
4.1 แนวคิดของการจัดการเรียนรูดวยวิธีการทางประวัติศาสตร คือ ขั้นกําหนดปญหาและตั้งสมมุติฐาน ขั้นรวบรวมขอมูลตาง ๆ ที่เกี่ยวของเพื่อใชในการแกปญหา ขั้นวิเคราะหและประเมินคุณคาขอมูลหรือหลักฐาน ขั้นตีความ และสังเคราะห และขั้นนําเสนอผลการคนควา
4.2 ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชวิธีการเรียนรูทางประวัติศาสตร ประกอบ ดวย 5 ขั้นตอน
4.2.1 ขั้นกําหนดปญหาหรือสมมุติฐาน จุดเริ่มตนของผูเรียนอยูในขั้นนี้ อยูที่การใชการสังเกต (Observarion) ของผูเรียน และผูสอน รวมกัน เพื่อคนใหพบขอคิดเกี่ยวกับเรื่องราวเหตุการณ
4.2.2 ขั้นแสวงหาความรูโดยการรวบรวมหลักฐาน (Data collection) ในขั้นนี้ผูสอน จะตองใหคําแนะนําเกี่ยวกับวิธีการคนควา และบอกแหลงที่ผูเรียนจะสามารถแสวงหา และรวบรวม หลักฐานได
4.2.3 ขั้นวิเคราะหและประเมินคุณคาขอมูล ในขั้นนี้ผูสอนจะตองใหคําแนะนําและสาธิตวิธีการวิเคราะหและการประเมินคุณคาขอมูลโดยอาศัย หลักการสําคัญ “Criticism”
4.2.4. ขั้นตีความและสังเคราะห
4.2.5. ขั้นนําเสนอขอมูล ทําไดโดยการบรรยาย การอภิปราย การสัมมนา การเขียน บทความ การทํารายงาน
4.3 การนํานวัตกรรมไปประยุกตใช การจัดการเรียนรูดวยวิธีการทางประวัติศาสตร “การรูวิธีการแสวงหาความรูและวิธีการแหงปญหา เพื่อการดํารงชีวิตไดอยางมีประสิทธิภาพ”
ใชใหเปนประโยชนทั้งตอ ตนเองและสังคมในเวลาหลังจากนั้นไดดวย
4 วัตกรรมการเรียนรูที่เนนการบูรณาการ
1.2 ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบวัฏจักรการเรียนรู4 MAT ประกอบดวย 8 ขั้นตอน ซึ่งเนนการพัฒนาสมองซีกซายและซีกขวาสลับกันตั้งแตขั้นแรกจนถึงขั้นสุดทาย
ขั้นที่4 พัฒนาความคิดดวยขอมูล (พัฒนาสมองซีกซาย)
ขั้นที่5 ทําตามแนวคิดหรือคูมือ (พัฒนาสมองซีกซาย)
ขั้นที่3 ปรับประสบการณเปนความคิดรวบยอด (พัฒนาสมองซีกขวา)
ขั้นที่6 สรางชิ้นงานตามความถนัดหรือความสนใจ (พัฒนาสมองซีกขวา)
ขั้นที่2 วิเคราะหประสบการณ(พัฒนาสมองซีกซาย)
ขั้นที่7 วิเคราะหผลหรือประยุกตใช(พัฒนาสมองซีกซาย)
ขั้นที่1 สรางประสบการณ(พัฒนาสมองซีกขวา)
ขั้นที่8 แลกเปลี่ยนความรู ความคิดเห็น(พัฒนาสมองซีกขวา)
การจัดการเรียนรูดวยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ
2.1 แนวคิดของการจัดการเรียนรูดวยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ หรือ Six thinking hats เปนวิธีคิดที่ Edward de Bono (1999) ไดพัฒนาขึ้นซึ่งมีแนวคิดวา การคิดเปนทักษะพื้นฐาน ของมนุษย ทักษะการคิดนําไปสูความสุขและความสําเร็จในชีวิตชวยใหผูเรียนไดพยายามคิดใหรอบคอบโดยคิดทั้งจุดดี จุดดอย จุดที่นาสนใจ และความรูสึกที่มีตอ สิ่งนั้นๆ
2.1.1 หมวกสีขาว (Information) หมายถึง การเนนที่ขอมูล มีขอมูลอะไรบางท
เนนที่ขอเท็จจริง ขอมูลและตัวเลข (Fact) ควรเปนขอเท็จจริงที่มีขอมูล อางอิง
2.1.2 หมวกสีแดง (Emotion) หมายถึง การคิดจากอารมณความรูสึก
2.1.3 หมวกสีดํา (Consideration) หมายถึง เครื่องหมายเตือนอันตราย หมวก สีดําใชความคิดในเชิงวิพากษ ซึ่งจะมองเชิงลบทําใหเห็นปญหา
2.1.4 หมวกสีเหลือง (Positive) หมายถึง การคิดถึงผลในทางบวก ขอดี จุดเดน คุณคา
2.1.5 หมวกสีเขียว (Creative) หมายถึง การคิดหาแนวทางใหมๆ และความคิด สรางสรรค
2.1.6 หมวกสีฟา (Process control or Big Picture) หมายถึง การกําหนด ปญหา จุดเนนการคิด การสรุป กําหนดป ัญหาและประเด็นตางๆ
2.2 ขั้นตอนการจัดการเรียนรูดวยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ นั้น de Bono (1992) ไดเสนอขั้นตอนการสอนโดยใชเทคนิคหมวกหกใบ ดังนี้
2.2.1 ขั้นนํา เปนการแนะนําใหทราบถึงสิ่งที่จะสอน
2.2.2 ขั้นชี้แจงรายละเอียด เปนการแจงใหทราบถึงรายละเอียดเกี่ยวกับสิ่ง ที่จะสอน ซึ่งเปนรายละเอียดเกี่ยวกับธรรมชาติ และลักษณะของหมวกแตละใบ
2.2.3 ขั้นสาธิต เปนการแสดงใหเห็นถึงการใชหมวกที่มีความสัมพันธกับ การคิดแตละแบบ พรอมกับอธิบาย แนะนําตัวอยางคําถามเพื่อสรางความเขาใจ
2.2.4 ขั้นฝกปฏิบัติ เปนการเปดโอกาสใหผูเรียนไดฝกใชหมวกคิดจาก สถานการณหรือหัวขอที่กําหนดให โดยพยายามใหผูเรียนไดฝกคิดใหรอบคอบทุกหมวก
2.2.5 ขั้นหารายละเอียดเพิ่มเติม เปนการรวมสนทนาเพื่อหารายละเอียด เพิ่มเติมเพื่อใหผูเรียนเห็นความชัดเจนในสิ่งที่คิด ปองกันการสับสน
2.2.6 ขั้นสรุป เปนการทบทวนและเรียบเรียงสิ่งที่คิด โดยเนนประเด็น สําคัญเพื่อใหเห็นผลที่เกิดจากการคิด
2.3 การนํานวัตกรรมไปประยุกตใช โดยการนําหมวกแตละสีไปใชในการจัดการ เรียนรูสามารถดําเนินการได 2 แบบ คือ
2.3.1 การใชแบบเดี่ยว คือ การเลือกใชหมวกสีใดสีหนึ่งในการสนทนา ซึ่ง ตองเลือกใชที่เหมาะกับวัตถุประสงค ตรงประเด็นที่ตองการ
2.3.2 การใชแบบเปนลําดับ คือ มีการจัดลําดับการใชหมวกโดยไมจําเปน ตองใชทุกสี การใชหมวกทั้ง 6 สี ไมมีลําดับขั้นวาควรใชสีใดกอนและสีที่ใดหลัง
การจัดกิจกรรมตามทฤษฎีพหุปญญา
3.1 แนวคิด แนวคิดทฤษฎีพหุปญญา มนุษยจะตองประกอบดวยทักษะในการแกปญหา
3.1.1 ปญญาดานภาษา
3.1.2 ปญญาดานตรรกศาสตรและคณิตศาสตร
3.1.3 ปญญาดานมิติสัมพันธ
3.1.4 ปญญาดานรางกายและการเคลื่อนไหว
3.1.5 ปญญาดานดนตร
3.1.6 ปญญาดานบุคคลและมนุษยสัมพันธ
3.1.7 ปญญาดานการเขาใจตน
3.1.8 ปญญาดานธรรมชาต
3.2 ขั้นตอนการจัดการเรียนรูของการจัดกิจกรรมตามทฤษฎีพหุปญญานั้น
ให เหมาะสมกับพัฒนาการ ความตองการ ความถนัด ความสนใจ และความสามารถของสติปญญาของ ผูเรียน
ขั้นที่ 1 กระตุนสติปญญา สราง บรรยากาศการเรียนการสอน
ขั้นที่ 2 เพิ่มหรือพัฒนาใหดีขึ้น ถือวาสติปญญาก็เหมือนการฝกทักษะตางๆ ยิ่งทํา ยิ่งใช ยิ่งคลอง ยิ่งทําไดดีขึ้น
ขั้นที่ 3 การสอนอยางใชสติปญญา ในขั้นนี้ครูจะตองออกแบบกิจกรรมการ เรียนใหผูเรียนไดใชสติปญญาแตละดานใหไดมากเทาที่จะเปนไปได
ขั้นที่ 4 การถายโยงสติปญญา ขั้นนี้เปนขั้นสุดทายของการพัฒนาสติปญญา ผูเรียนควรจะไดรับการสงเสริมใหนําความสามารถสติปญญาดานตางๆ ไปประยุกตใชจริง
การจัดการเรียนรูแบบสตอรี่ไลน
4.1 แนวคิดการจัดการเรียนรูแบบสตอรี่ไลน เสนทางของเรื่องหรือแนวของเรื่องเปนการดําเนินเรื่องที่เรียงติดตอเปนสําคัญดุจเสน เชือก
4.1.1 เนนผูเรียนเปนศูนยกลางของการจัดกิจกรรมเรียนรูดวยวิธีสตอรี่ไลนได แนวคิดยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง ที่วาใหผูเรียนมีสวนเกี่ยวของ โดยตรงกับการเรียนรูของตนเอง เนนคุณคาวาผูเรียนทุกคนมีการสรางประสบการณและทักษะเดิม ของตนเอง
4.1.2 เนนการปฏิบัติและการเสริมแรง ผูเรียนเปนผูลงมือปฏิบัติดวยตนเอง
4.1.3 เนนการเรียนการสอนที่เปนการบูรณาการ
4.1.4 เนนการพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพในการเรียนรูการจัดกิจกรรมการเรียนรู เปนการบูรณาการจึงมีความหลากหลายรูปแบบ
4.1.5 เนนการเรียนรูรวมกัน เปดโอกาสใหผูเรียนไดพัฒนาวุฒิภาวะทางสังคมโดย รวมทํากิจกรรมหลายรูปแบบ
4.1.6 เนนเรื่องการตั้งคําถามของผูสอน การตั้งคําถามของผูสอนเปนหัวใจสําคัญของ การเรียนการสอน
4.2 ขั้นตอนการจัดการเรียนรูของการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรูแบบสตอรี่ไลน การจัดการเรียนรูแบบสตอรี่ไลนหรือเรื่องราว หรือนิทาน ตัวละครจะมีองคประกอบตางที่ผสมผสาน อยูดวยกันอยางนอยสี่สวนไดแกตัวละคร
การจัดการเรียนรูตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
5.1 แนวคิดการจัดการเรียนรูตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
โดยเนนการนําความรูไป แกปญหาในชีวิตจริงและการประกอบอาชีพในอนาคต ดผาน โครงงานที่แกปญหาในชีวิตจริงเ
5.2 ขั้นตอนการจัดการเรียนรูตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
1 การระบุปญหา
2 การคนหาแนวคิดที่เกี่ยวของ
3 การวางแผนและพัฒนา
4 การทดสอบและประเมินผล
5 การนําเสนอผลลัพธ
5.3 การนํานวัตกรรมไปประยุกตใช สามารถนําการจัดการเรียนรูตามแนวคิดสะเต็มศึกษาโดย การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ซึ่งสามารถบูรณาการแบงไดเปน 4 ระดับดังนี้
5.3.1 การบูรณาการภายในวิชา (Disciplinary integration) เปนการจัดการเรียนรูที่ผูเรียน ไดเรียนเนื้อหาและฝกทักษะแตละวิชาแยกกัน
5.3.2 การบูรณาการแบบพหุวิทยาการ (Multidisciplinary integration) เปนการจัดการ เรียนรูที่ผูเรียนไดเรียนเนื้อหาและฝกทักษะของแตละวิชาแยกกัน แตมีขอหลัก (Theme) ที่ผูสอนทุกวิชา กําหนดรวมกันและมีการอางอิงถึงความเชื่อมโยงระหวางวิชานั้นๆ
5.3.3 การบูรณาการแบบสหวิทยาการ (Interdisciplinary integration) เปนการจัดการเรียนรู ที่ผูเรียนไดเรียนเนื้อหาและฝกทักษะอยางนอย 2วิชารวมกัน โดยกิจกรรมมีการเชื่อมโยงความสัมพันธ ของทุกวิชา
5.3.4 การบูรณาการแบบขามสาขาวิชา (Transdisciplinary integration) เปนการจัดการเรียนรู ที่ชวยใหเชื่อมโยงความรูและทักษะที่เรียนรูจากวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตรและคณิตศาสตร 257 กับชีวิตจริง