Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปรัชญาและแนวคิดทางจริยธรรมในองค์กร, 631011130 นางสาวรัตนาภรณ์ สอนคง…
ปรัชญาและแนวคิดทางจริยธรรมในองค์กร
1.ทฤษฏีจิตวิเคราะห์
ทฤษฏีบุคลิกภาพของซิกมันด์ฟรอยด์ อธิบายได้เป็น 2 แบบ คือ
2.อธิบายในลักษณะของทฤษฏีพัฒนาการ
1.การอธิบายบุคลิกภาพในแง่บุคลิกภาพ
ลักษณะของจิต
จิตสำนึก(Conscious) : เป็นการรับรู้ด้วยประสาททั้ง5 ซึ่งมีการทำงานอย่างรู้บุคคล (คล้ายก้อนน้ำแข็งส่วนที่ลอยอยู่เหนือน้ำ)
จิตใต้สำนึก(Subconscious/Unconcious) : เป็นความรู้สึกนึกคิด ความต้องการในส่วนลึกของจิตใจ (คล้ายก้อนน้ำแข็งส่วนที่จมใต้น้ำ)
จิตก่อนสำนึก(Preconscious) : เป็นประสบการณ์บางอย่างที่ลืมไป แต่ถ้าได้รับการเตือนก็จะจำได้ (คล้ายก้อนน้ำแข็งที่อยู่ปริ่มน้ำ)
โครงสร้างของจิต
อีโก้(Ego)
Ego คือ หลักแห่งความเป็นจริง เป็นการทำงานของจิตขั้นที่สองมีหน้าที่ปรับพลังจาก Id ให้เข้ากับสภาพของความเป็นจริง ใช้กระบวนการคิดอย่างมีเหตุผลเพื่อแสดงพฤติกรรมที่มีความเหมาะสม
ซูปเปอร์อีโก้(Superego)
Super Ego เป็นมโนธรรม หรือจิตสำนึกแห่งคุณธรรมความดีงาม Superego มีหน้าที่สังเกต ดูแล และกลั่นกรองการกระทำของEgo ให้แสดงพฤติกรรมต่างๆ ที่สังคมยอมรับ
อิด(Id)
Id คือ หลักการแห่งความพอใจ
เป็นกระบวนการทำงานของจิตขั้นต้น ที่ยึดแต่ความพึงพอใจเป็นหลัก เป็นสัญชาตญาณของจิตใต้สำนึก
5.ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคมของแบนดูรา
กระบวนการเลียนแบบ
กระบวนการการแสดงออก
กระบวนการเสริมแรง
2.การเสริมแรงทางลบ
3.การลงโทษ
1.การเสริมแรงทางบวก
4.การไม่ให้สิ่งเสริมแรงหรือการหยุดยั้งพฤติกรรม
กระบวนการความจำ
กระบวนการความสนใจ
แบบกำหนดการให้แรงเสริม
การเสริมแรงเป็นครั้งคราว
การเสริมแรงตามอัตราส่วนที่ไม่แน่นอน(Variable Ratio Schedule : VR)
การเสริมแรงตามเวลาที่แน่นอน(Fixed Interval Schedule : FI)
การเสริมแรงตามอัตราส่วนที่กำหนดแน่นอน(Fixed - interval : FR)
การเสริมแรงตามเวลาที่ไม่แน่นอน(Variable Interval Schedule : VI)
การเสริมแรงแบบต่อเนื่อง
4.ทฤษฏีต้นไม้จริยธรรม : ดวงเดือน พันธุมนาววิน
ราก
3.ประสบการณ์ทางสังคม: การรู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา เอื้ออาทร เห็นอกเห็นใจ
1.สุขภาพจิต: ความไม่สบายใจของบุคคลอย่างเหมาะสมกับเหตุการณ์
2.ความเฉลียวฉลาดหรือสติปัญญา: การคิดในขั้นรูปธรรมและการคิดในขั้นนามธรรม
ลำต้น
ทัศนคติ: การเห็นประโยชน์-โทษของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง และความพร้อมที่จะมีพฤติกรรมต่อสิ่งนั้น
ค่านิยม: สิ่งที่คนส่วนใหญ่เห็นว่าสำคัญ
คุณธรรม: สิ่งที่ส่วนรวมเห็นว่าดีงามส่วนใหญ่มักเกี่ยวข้องกับหลักทางศาสนา
ลักษณะมุ่งอนาคตควบคุมตน: ความสามารถในการคาดเดาการณ์ไกลว่า สิ่งที่ทำลงไปในปัจจุบันส่งผลอย่างไร
เหตุผลเชิงจริยธรรม: เจตนาของการกระทำเพื่อส่วนรวมมากกว่าส่วนตัว
ความเชื่ออำนาจในตน: ความเชื่อว่าผลที่ตนกำลังได้รับอยู่เกิดจากการกระทำของตนเอง มิใช่เกิดจากโชคเคราะห์ความบังเอิญ
แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์: ความมานะพยายามฝ่าฟันอุปสรรคในการทำ
ดอกและผล
พฤติกรรมของคนดี: แสดงพฤติกรรมการทำความดี ละเว้นความชั่ว
พฤติกรรมของคนดีและคนเก่ง: แสดงพฤติกรรมการทำงานอย่างขยันขันแข็งเพื่อส่วนรวมอย่างมีประสิทธิภาพ
พฤติกรรมของตนเอง
บางครั้งอยู่ในสภาพที่ไม่รู้ตัวในบางขณะ พูดอะไรออกมาโดยไม่ได้ตั้งใจ เป็นประสบการณ์บางอย่างที่ลืมไป แต่ถ้าได้รับการเตือนก็จะจำได้ทันที เป็นจิตก่อนสำนึก(น้ำแข็งที่อยู่ปริ่มน้ำ)
จึงตรงกับทฤษฏีจิตวิเคระห์ของ Sigmund Freud
3.ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรม ของโคลเบิร์ก
ระดับตามกฏเกณฑ์
ขั้นที่ 4หลักการทำตามหน้าที่ทางสังคมตามกฎหมายกฏเกณฑ์
ขั้นที่ 3หลักการทำตามมที่ผู้อื่นเห็นชอบ
ระดับเหนือกฏเกณฑ์
ขั้นที่ 6หลักการยึดอุดมคติสากล
ขั้นที่ 5หลักการทำตามคำมั่นสัญญา
ระดับก่อนกฏเกณฑ์
ขั้นที่ 2หลักการแสวงหารางวัล
ขั้นที่ 1หลักการหลบหลีกการถูกลงโทษ
2.ทฤษฏีการพัฒนาการทางจริยธรรมของเพยเจท์
ระดับพัฒนาทางจริยธรรม
1.ขั้นก่อนจริยธรรม
ขั้นที่ไม่เกิดจริยธรรมแต่เรียนรู้ได้จากประสาทสัมผัสและมีการพัฒนาทางสติปัญญาในขั้นต้น
2.ขั้นยึดคำสั่ง/ขั้นเชื้อฟังคำสั่ง
ขั้นการรับรู้สภาพสิ่งแวดล้อมและบทบาทของตนเองต่อผู้อื่นเป็นการเชื่อฟังและปฏิบัติตามคำสั่ง
3.ขั้นยึดหลักแห่งตน
ขั้นที่สามารถใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลประกอบการตัดสินใจและตั้งเกณฑ์ที่เป็นตัวของตัวเอง
631011130 นางสาวรัตนาภรณ์ สอนคง (การจัดการทรัพยากรมนุษย์)