Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Anaphylaxis - Coggle Diagram
Anaphylaxis
ภาวะแทรกซ้อน
-
-
-
-
-
ผู้ป่วยโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ เช่น โรคหลอดลมอุดกั้นเรื้อรัง อาจเกิดความเสียหายต่อปอดหากไม่ได้รับออกซิเจนหลังเกิดอาการแพ้ทันที หรือในผู้ป่วยโรคเอ็มเอสอาจส่งผลให้มีอาการแย่ลง
ผู้ที่มีอาการแพ้รุนแรงและไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีอาจเสียชีวิตได้ เนื่องจากหัวใจอาจหยุดเต้นและขาดอากาศหายใจ
อาการและอาการแสดง
-
อาการช้ากว่านี้ในสารก่อภูมิแพ้ชนิดรับประทาน ซึ่งมักเกิดอาการภายใน 2 ชั่วโมงหลังบริโภคสารที่ ก่อให้เกิดอาการแพ้
ระยะเวลาของการเกิดอาการแพ้จากยาหรือสารทึบ รังสี (radiocontrast agent) ประมาณ 5 นาที จากแมลง 15 นาที และจากอาหาร 30 นาที
-
เกิด anaphylaxis ในเวลาต่อมา ภายหลังจากที่อาการดีขึ้นเป็นเวลาหลายชั่วโมง เรียกว่า “biphasic anaphylaxis"
-
ผู้ป่วยที่ต้องใช้ epinephrine ขนาดสูงในช่วงที่มีอาการเริ่มแรก หรือระยะเวลาในการเกิดอาการเกิน 30 นาทีภายหลังการได้รับ สารก่อภูมิแพ้ และสารที่ก่อให้เกิดอาการแพ้มักเป็นชนิดรับประทาน ระยะเวลาในการเกิด biphasic anaphylaxis นานตั้งแต่ 1 ถึง 72 ชั่วโมง แต่มักเกิดอาการภายใน 8 ชั่วโมง
ควรสังเกตอาการผู้ป่วยอย่างน้อย 8-24 ชั่วโมงหลังการเกิด anaphylaxis เพื่อเฝ้าระวังการเกิด biphasic anaphylaxis
-
-
สาเหตุการเกิด
- Immunologic mechanisms ชนิด IgE-dependent
-
-
-
-
-
ยาปฏิชีวนะ เช่น ยาในกลุ่ม beta tactims (penicillin, cephalosporin), sulfonamides, quinolones และ macrolides
- Immunologic mechanisms ชนิด IgE-independent
ยาในกลุ่ม non-steroidal anti inflammatory drugs (NSAIDs), radiocontrast media, monoclonal antibodies, protamine, Immunoglobulin albumin, dextrans
- Non-Immunologic mechanisms
กระตุ้น mast cells โดยตรง ได้แก่ ethanol, ยาในกลุ่ม plaids และปัจจัยทางกายภาพ เช่น การออกกำลังกาย ความร้อน ความเย็น แสงแดด
-
เกณฑ์การวินิจฉัย
เกณฑ์การวินิจฉัย anaphylaxis ตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยภาวะ anaphylaxis จากทั้ง 3 guidelines ในประเทศสหรัฐอเมริกา ทวีปยุโรป และ World Allergy Organization(WAO) จะถูกวินิจฉัยเมื่อมีอาการ 1 ใน 3 ข้อ
- อาการเกิดขึ้นเฉียบพลัน (ภายในเวลาเป็นนาที หรือไม่กี่ชั่วโมงของระบบผิวหนังหรือเยื่อบุ (micosaltissue) หรือทั้งสองอย่าง ลมพิษขึ้นทั่วตัว คัน ผื่นแดง หรือมีอาการบวมของปาก ลมเพดานอ่อน
ร่วมกับอาการอย่างน้อยหนึ่งอาการดังต่อไปนี้
1.อาการทางระบบทางเดินหายใจน้ำมูกไหล เสียงแหบ หอบเหนื่อย หายใจมีเสียงหวีดจากหลอดลมตีบตัน
2.ความดันโลหิตลดลง หรือมีการทำงานของระบบต่างๆ ล้มเหลว เช่นเป็นลม อุจจาระ ปัสสาวะราด
2.มีอาการมากกว่าหรือเท่ากับ 2 ข้อ ดังต่อไปนี้ ในผู้ป่วยที่สัมผัสกับสารที่น่าจะเป็นสารก่อภูมิแพ้ ในไม่กี่นาที หรือไม่กี่ชั่วโมง
- มีอาการทางระบบผิวหนังหรือเยื่อบุ เช่น ผื่นลมพิษทั่วตัว คัน ผื่นแดง หรือมีอาการบวมของปากลิ้น
- มีอาการของระบบทางเดินหายใจ เช่น คัดจมูก น้ำมูกไหล เสียงแหบ หอบเหนื่อย
-
- มีอาการของระบบทางเดินอาหาร เช่น ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน
3.ความดันโลหิตลดลงหลังจากสัมผัสกับสารที่ผู้ป่วยทราบว่าแพ้มาก่อน (เกิดอาการภายในเวลาเป็นนาที หรือไม่กี่ชั่วโมง)
- ในเด็กให้ถือเอาความดัน systolic ที่ต่ำกว่าความดันปกติตามอายุหรือsystolic ลดลง มากกว่าร้อยละ 30 ของความ systolic เดิม
2 ในผู้ใหญ่ให้ถือเอาความดัน systolic ที่น้อยกว่า 90 mmHg หรือความดัน systolic ลดลง มากกว่า ร้อยละ 30 ของความดัน systolic เดิม
-
การวัดระดับเมทริปเทส (Serum total tryptase)
ระดับสูงสุดที่ 60-90 นาทีหลังจากเกิด อาการ anaphylaxis และจะขึ้นสูงอยู่นานประมาณ 5 ชั่วโมงควรส่งตรวจเลือดภายใน 1-2 ชั่วโมงหรือไม่ควรเกิน 5 ชั่วโมงหลังเกิดอาการ
-
แนวทางการรักษา
-
ยาที่ใช้ในการรักษา
-
-
-
B2-adrenergic agonist ชนิดพ่น ได้แก่ salbutamol มีฤทธิ์ขยายหลอดลมและช่วยลดการอุดกั้น ของทางเดินหายใจ
-