Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปวิชานาฏศิลป์ไทย ม.4 เทอม 1 - Coggle Diagram
สรุปวิชานาฏศิลป์ไทย ม.4 เทอม 1
การแปรแถวทางนาฏศิลป์ไทย
การจัด รูปแบบของการแสดงการแสดงนาฏศิลป์ ไดแก่ระบำรำฟ้อนละครโขนมีรูปแบบ ของการจัดการแสดงเป็นเอกลักษณ์ ลักษณะท่าทางความคิดสร้างสรรค์ของผู้ประดิษฐท่ารำ ยกตัวอย่างเช่นการจัดการแสดงประเภทระบำควรมีหลักเกณฑ์ที่ต้องพิจารณาดังนี้
การเคลื่อนแถวต้องสัมพันธ์กับบทเพลง
ไม่แปรแพวแบเดียวซ้ำหลายๆ ครั้ง
ระยะการเคลื่อนที่แถวต้องสัมพันธ์กับบทเพลง
การแปรแถวควรมีความกลมกลืนของการเคลื่อนตัวไป
ระยะหางของผู้แสดงต้องเท่ากัน
คำนึงถึงสีของเครื่องแต่งกายของผู้แสดง
คำนึงถึงรูปร่างลักษณะของผู้แสดง
คำนึงถึงสัดส่วนของพื้นที่ เวที โดยไม่เอียงหรือ เบี้ยว
แถวที่ใช้ทำการแสดง
แถวตอนลึก ผู้แสดงฝ่ายชายอยู่ทางด้านซ้าย ผู้แสดงหญิงอยู่ทางด้านขวา
แถวหน้ากระดาน
แถวเดี่ยว
แถวคู่ตรงกัน
รูปวงกลม
วงกลมเดี่ยว
วงกลมซ้อน
ครึ่งวงกลม
วงกลมที่มีตัวกลาง
แถวคู่สันหว่าง
แถวรูปสามเหลี่ยม
การจับคู่
รูปทะแยงมุม
การเข้าพูต่างๆ
พู
พู 4
พูละเอียด
องค์ประกอบของการแสดงนาฏศิลป์ไทย
องค์ประกอบท่ีทำให้นาฏศิลป์ไทยมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวท่ี คือ ความ สวยงามโดดเด่น และบ่งบอกถึงความมอารยะธรรมทางด้านศิลปะ มา แต่อดีตกาล คือ ลีลาท่ารา การขับร้องเพลงไทย ดนตรีไทย และ การแต่งกาย ดังนี
๑. ลีลาท่ารำ หมายถึง
กระบวนการ เคลื่อนไหวของอวัยวะร่างกายของนักแสดง สื่อออกมาในลักษณะต่าง ๆ เช่น สื่อ แทน แทนอากัป กริยาท่กำลังปฏิบัติ
อยู่ หรือสื่อถึงกิจกรรมที่เป็นไปตามประสงค์ สำหรับการทำงานเป็นต้น
นาฏยศัพท์ คือ ศัพท์ที่ใช้เรียกท่ารำทางนาฏศิลป์ หือ การละคร การฟ้อนรำ การสร้างสรรค์ที่เกี่ยวข้องกับนาฏศิลป์ไทย ผู้แสดงต้องเข้าใจกระบวนการร่ายรำ ทำให้ความประณีตของท่วงท่าที่สร้างสรรค์ มันจะลงตัว
ภาษานาฏศิลป์ คือ ภาษาที่ใช้สำหรับการสื่อสารของนักแสดง เพื่อให้เข้าใจโดยใช้ท่าทางนาฏศิลป์ เป็นตัวสื่อแทนการใช้คำพูด
กิริยาท่าทางปรากฏออกทางอวัยวะของร่ายกาย แบ่งเป็น 3 อย่างคือ
ท่ารำที่ใช้แทนคำพูด
ท่ารำที่เป็นอริยบทและกิริยาอาการ
ท่าซึ่งแสดงถึงอารมณ์ภายใน
การตีบท คือ การใส่ท่าทางตามบทร้อง หรือ บทเพลง เพื่อสื่อ ความหมายให้ผู้ชมเข้าใจตามความหมายและอารมณ์ของเพลง
เพลงที่นำมาประดิษฐ์ มี 2 อย่างคือ
บรรเลง คือ เพลงที่มีแต่ทำนองและ จังหวะ ไม่มีเนื้อร้อง
เพลงมีเนื้อร้อง คือ เพลงที่มีทำนอง จังหวะ และ เนื้อเพลงบรรยายตามอิริยาบทของตัวละคร
ฟ้อนดวงเดือน
ประวัติที่มา
เป็นพระราชนิพนธ์ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมกมื่นพิชัยมหินทรโรดม ทรงแต่ง ขึ้น เมื่อครั้งเสด็จตรวจราชการ ซึ่งใช้เกวียนเป็นพาหะนะ ระหว่างการพักแรมอยู่กลางทาง พระองค์ทรงแต่งเพลงที่มีสำเนียงลาวขึ้น เหมือนลาวดำเนินทราย ต่อมาได้เปลี่ยนเป็น ลาวดำเนินเกวียน ที่บทร้อง ขึ้นว่า
“โอ้ละหนอดวงเดือนเอย’’
ก่อนหน้านั้น ในปี 1903 พระองค์ชายเพ็ญ ที่พึ่งจบการศึกษาแบบใหม่ๆ และเสด็จเที่ยวเมือง เชียงใหม่ ซึ่งตอนนั้น พระองค์ทรงนัวเนีย กับ เจ้าหญิงชมชื่น ที่มีผิวพรรณผัดผ่องดังดวงจันทร์ ใบหน้าสวยมาก ทำให้พระองค์เสด็จ ทรงเยี่ยมทุกวัน ทุกคืน และ อยากจะสู่ขอมาตั้งนาน แต่สุดท้ายคับ กลับไม่เป็นผล พระองค์ทรงยังไม่บรรลุ ถึงอายุ 18 ปี ต่องได้รับพระบรมราชานุญาติก่อน เพื่อจะรับเป็นสะใภ้หลวง ไม่อย่างนั้น อาจจะตกอยู่ใน นางบำเรอ ตลอดชีวิด
พอกลับถึง กรุงเทพ พระองค์เสียพระทัยมาก จนขั้น ต้อง ปลอบพระทัยด้วยการ ทรงดนตรี
ท่ารำ ที่ใช้เพลงลาวดวงเดือน ประดิษฐ์ขึ้นโดย ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนีย์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปการแสดง นาฏศิลป์ไทย ปี 1985 และ แสดงครั้งแรก ปี 1960 เพื่อถวาย ในหลวง ร.9 และ พระราชินี ร.9 ณ.ตำหนักเรือนต้น พระที่นั่งอัมพรสถานพระราชวังดุสิด
ผู้แสดงชุดแรก คือ นางศิริวัฒน์ ดิษยนันท์ ศิลปินแห่งชาติ นาฏศิลป์ไทย ปี 1998 กับ นาง พยอม ทองหลิม
แต่ปัจจุบัน ท่ารำนี้ ได้บรรจุหลักสูตรของวิทยาลัยนาฏศิลป โดย ครู ลมุล ยมะคุปต์ เป็นผู้วางหลักสูตร
รูปแบบการแสดงและ การแต่งกาย
รูปแบบการแสดง เป็นการฟ้อนรำ ระหว่างฝ่ายหญิง และ ฝ่ายชาย ที่ออกมาทำท่ารำประกอบบทร้องอป็นการรำตีบท หรือ รำใบ้บท และในช่วงทำนองเพลงรับ ผู้แสดงก็จะทำท่ารับ ความงดงามของการรำฟ้อนลาวดวงเดือน อยู่ที่กระบวนท่ารำการเกี้ยวพาราสี ซึ่งมีอยู่หลายท่า แต่ละท่าจะมีความหมาย ต่าง กัน
ความงดงามของการรำในทำนองเพลงซุ้มลาวเเพน จะเป็นการเดี่ยวจะเข้ จึงทำให้ท่ารำมีความรวดเร็ว และ กระฉับกระเฉง ทำให้เกิดความสนุกสนาน
การแต่งกาย
ผู้ชาย จะ นุ่งผ้าโจงกระเบน เสื้อแขนยาว ผ้าโพกหัว ผ้าคาดเอว เครื่องประดับ กำไลข้อเท้า เข็มขัดสร้อยคอ ต่างหูใส่ข้างซ้าย
ผู้หญิง จะนุ้งผ้ายาวกรอมเท้าเบิงปักดิ้นเงิน ใส่เสื้อในนาง เสื้อแขนสั้น และชายเสื้อติดกรุยเงิน
มีป้าคล้องคอเครื่องประดับ เข็มขัด สร้อยคอมือ สร้อยคอ ต่างหู ผมเกล้ามวยติดดอกไม้และ ห้อยอุบะ