Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บุคคลสำคัญของไทยที่ได้รับยกย่องจาก องค์กรยูเนสโก - Coggle Diagram
บุคคลสำคัญของไทยที่ได้รับยกย่องจาก
องค์กรยูเนสโก
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพ
ทรงได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย
เนื่องในโอกาสฉลองวันประสูติครบ 100พรรษา เมื่อวันที่ 2505
สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส
ทรงเป็นพระสังฆราชองค์ที่ 7 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์และเป็นพระภิกษุรูปแรกที่ได้รับการยกย่องจากองค์การยูเนสโก
ทรงยกย่องให้เป็น รัตนกวีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
เนื่องในวาระฉลองวันประสูติครบ 200ปี เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2533
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระองค์ทรงเชี่ยวชาญศิลปะต่างๆ
ทรงนิพนธ์เพลงบุหลันลอยเลื่อนและทรงซอสายฟ้าฟาด
ทรงนิพนธ์แกะสลักบานประตูพระวิหารวัดสุทัศน์
ทรงฟื้นฟูการแสดงต่างๆ เช่น ละคร โขน
ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภา บทละครใน บทละครนอก กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
เนื่องในโอกาสฉลองวันพระราชสมภพครบ 200พรรษา เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2511
พระสุทรโวหาร
เป็นสามัญชนชาวไทยคนแรกที่ได้รับการยกย่องจากองค์กรยูเนสโก
เนื่องในโอกาสฉลองวันเกิดครบรอบ 200ปี เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2529
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
ทรงมีคุณาปกรต่อวงการแพทย์ไทย
เนื่องในวาระฉลองครบรอบ 100ปี วันคล้ายวันพระราชสมภพ เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2535
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณด้านการแพทย์การพยาบาลและการสาธารณสุข
เนื่องในวาระฉลองวันพระราชสมภพครบ 100พรรษา เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2543
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
นักการศึกษาดีเด่นของโลกในสาขาวรรณกรรมและการสื่อสาร
เนื่องในโอกาสฉลองวันเกิดครบรอบ 100ปี เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2546
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงเชี่ยวชาญทางดาราศาสตร์จนได้รับการยกย่องเป็นบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย
เนื่องในโอกาสฉลองวันพระราชสมภพ 200พรรษา ในวันที่ 18 ตุลาคม 2547
ท่านพระพุทธทาสภิกขุ
ท่านได้รับการยกย่องให้เป็นบุคคลสำคัญด้านส่งเสริมขันติธรรม สันติธรรม วัฒนธรรม ความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีของมวลมนุษย์
เนื่องในโอกาสครบรอบชาตกาล 100ปี เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2549
เอื้อ สุนทรสนาน
นักร้องและนักประพันธ์เพลง
เนื่องในโอกาสครบรอบชาตกาล 100ปี เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2553
สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า
ทรงให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของราษฏรอย่างรอบด้าน
เมื่อวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2555 เนื่องในวาระฉลองวันพระราชสมภพ ครบ 150พรรษา
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงวางรากฐานรูปแบบการเมืองการปกครองของไทยในปัจจุบัน
เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 เนื่องในวาระฉลองวันพระราชสมภพ ครบ 100พรรษา
หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยา
มีบทบาทด้านการส่งเสริมสถานภาพสตรี
เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2558 เนื่องในวาระฉลองชาตกาลครบ 100ปี
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
พระองค์ได้รับการยกย่องเป็น นายช่างใหญ่กรุงสยาม
เนื่องในโอกาสฉลองวันประสูติครบ 100พรรษา เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2506
พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงได้รับถวายพระสมัญญา พระมหาธีรราชเจ้า ทรงปรีชาด้านอักษรศาสตร์ ทรงแปลบทละครจากต่างประเทศเป็นภาษาไทย
เนื่องในโอกาสฉลองวันพระราชสมภพครบ 100พรรษา เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2524
พระยาอนุมานราชธน
มีผลงานวรรณกรรมด้านประเพณีไทย ศาสนา วิถีชีวิต ไทยสมัยก่อน
เนื่องในโอกาสครบรอบชาตกาล 100ปี เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม
พลตรีพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าวรรณไวทยากรกรมหมื่นราธิปพงศ์ประพันธ์
ทางมีบทบาทในการบัญญัติศัพท์ภาษาไทยเป็นคำแปลของศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้คำบาลีและสันสกฤตเป็นรากฐาน
เนื่องในวาระฉลองวันประสูติครบ 100ปี เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2534
พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ทรงมีพระราชกรณียกิจต่างที่ล้วนให้พสกนิกรมีชิวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น
เนื่องในโอกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2539
ศาสตราารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์
เป็นหนึ่งในคณะราษฏรที่ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
เนื่องในโอกาสฉลองชาตกาลครบ 100ปี เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2543
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระองค์ได้รับปฏิรูปแผ่นดินพัฒนาประเทศไทยให้ก้าวสู่ความทันสมัยทัดเทียมนานาอารยประเทศ
เนื่องในโอกาสฉลองวันพระราชสมภพครบ 150พรรษา เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2546
นายกุหลาบ สายประดิษฐ์
นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ที่มีชื่อเสียงของไทย
เนื่องในโอกาสครบรอบชาตกาล 100ปี เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2549
ศาสตราจารย์ พลตรี ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช
เป็นนักปราชญ์นักเขียน นักการเมืองและศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย
เนื่องในโอกาสครบรอบชาตกาล 100ปี ในวันที่ 20 เมษายน 2554
พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงวงษาธิราชสนิท
ทรงมีความรอบรู้ทางด้านอักษณศาสตร์ภาษาไทย ภาษาขอม และภาษมคธ วรรณคดี โบราณคดี และราชประเพณี
เนื่องในวาระแลอง200ปี วันคล้ายวันประสูติ เมื่อวันที่ 9 กรกฏาคม 2551
หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ
ส่งเสริมการสอนภาษาและวรรณคดีไทย ผลงานที่คนไทยควรอ่าน คือ หัวเลี้ยวของวรรณคดี
เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ.2555 เนื่องในวาระฉลองชาตกาลครบ 100ปี
สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
ทรงส่งเสริมการรักษาโรคแบบตะวันตก
เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2557 เนื่องในวาระฉลองวันพระราชสมภพ ครบ 150พรรษา