Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหอบหืดในหญิงตั้งครรภ์ (Asthma) - Coggle Diagram
โรคหอบหืดในหญิงตั้งครรภ์ (Asthma)
สาเหตุ
Extrinsic asthma
แพ้สารจากภายนอก ทำให้ร่างกาย
ปล่อยสารเคมี chemical mediators
มีผลให้หลอดลมเกร็ง และหลั่งเยื่อเมือกออกมา
Intrinsic asthma
ไม่ได้มีสาเหตุจากการแพ้
กรรมพันธุ์
ออกกำลังกาย
สุบบุหรี่
เครียด
อาการและอาการแสดง
หายใจลำบาก มีเสียงวี๊ด (wheezing)
ไอ จากหลอดลมหดเกร็ง เสมหะอุดกั้น
เยื่อบุทางเดินหายใจบวม
ใช้กล้ามเนื้อที่คอ ไหล่
ในขณะหายใจลำบาก
หายใจเร็ว Pulse เร็ว
เหงื่ออกมาก
โรคหอบหืดต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
แท้ง
เจ็บครรภ์ก่อนกำหนด
ผลต่อทารก
คลอดก่อนกำหนด
ตายในครรภ์
น้ำหนักน้อย
❇ควบคุมโรคได้
จะไม่มีผลต่อการตั้งครรภ์
ไตรมาสที่ 3 การเพิ่มขึ้นของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน
❇ทำให้การหายใจต้องใช้แรงมากขึ้น
❇ทำให้หายใจถี่มากขึ้น
อาการหอบหืดกำเริบมีแนวโน้มที่จะปรากฏในช่วง
24 ถึง 36 สัปดาห์ โดยเฉพาะผู้ป่วยบางส่วน
ไม่ถึง 10 เปอร์เซ็นต์จะที่มีอาการกำเริบ
ในระหว่างช่วงการคลอด
การพยาบาล
ใช้ Epidural แทน General anesthesia
⚠เลี่ยงการใช้ Metherginใช้ Oxytocin แทน
ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การดูแลรักษาโรคหอบหืด ช่วงตั้งครรภ์
กลุ่มยาขยายหลอดลม (Bronchodilators)
กลุ่มยาพ่นหอบชนิด ออกฤทธิ์เร็ว
ยา Albuterol
ใช้เพื่อควบคุมอาการเฉียบพลัน
ยาพ่นหอบชนิดออกฤทธิ์นาน
ยา salmeterol
ยา formoterol
สั่งจ่ายโดยแพทย์เฉพาะทาง
กลุ่มยาต้านการอักเสบ
(Anti-inflammatory medication)
ยา Budesonide มักถูกแนะนำให้ใช้เป็นยาอันดับแรก จากกลุ่มยาสเตียรอยด์ชนิดสูดดม สำหรับการใช้งาน
ในผู้ป่วยโรคหอบหืดที่ตั้งครรภ์
ยาโรคหอบหืด
ยาชนิดสูดดม
เนื่องจากมีผลกระทบเฉพาะที่ และมีเพียงตัวยา เพียงจำนวนน้อยมากที่เข้าสู่กระแสเลือด จะมี
การใช้ยาในปริมาณน้อยที่สุดเท่าที่จำเป็น
ในช่วง สามเดือนแรกของการตั้งครรภ์