Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การศึกษาสภาวการณ์การจัดการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยในประเทศไทย, นางสาวอภิญญา…
การศึกษาสภาวการณ์การจัดการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยในประเทศไทย
สภาพและการจัดการศึกษาปฐมวัย
ในประเทศไทย ด้านการเข้าถึง
การเข้าถึงในช่วงแรกเกิดจนถึงอายุ 6 ปี
เข้าถึงสิ่งของเสริมสร้างพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
การเข้าถึงบริการหากมีพัฒนาการล่าช้
การเรียนหลักสูตรปฐมวัย
การเรียนเตรียมอนุบาล
การได้รับการดูแลสุขภาพฟัน
การได้รับภูมิคุ้มกันที่ครบถ้วน
การได้รับโภชนาการที่ถูกต้องเหมาะสม
สรุปประเด็นท้าทายด้านการเข้าถึงการพัฒนาเด็กปฐมวัย
การเข้าถึงทรัพยากรที่สำคัญในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
การเข้าถึงการบริการที่เกี่ยวกับเด็กปฐมวัยของภาครัฐ
การเข้าถึงองค์ความรู้ของแม่และผู้ปกครอง
การวิเคราะห์การเข้าถึงในช่วง ตั้งครรภ์
การได้รับบริการฝากครรภ์
การได้รับโภชนาการขณะตั้งครรภ์
กรอบแนวคิดในการวิเคราะห์การเข้าถึงการพัฒนาของ
เด็กปฐมวัย
สภาพและผลการจัดการศึกษาปฐมวัย
ในประเทศไทย ด้านคุณภาพ
กรอบแนวคิดในการวิเคราะห์คุณภาพการพัฒนา ของเด็กปฐมวัย
สรุปประเด็นท้าทายด้านคุณภาพในการพัฒนา
เด็กปฐมวัย
การพัฒนาให้เด็กทุกคนมีพัฒนาการที่สมวัยจากฝั่งผู้ปกครอง
การพัฒนาให้เด็กมีทักษะที่จําเป็นในศตวรรษที่ 21
การพัฒนาให้เด็กทุกคนมีพัฒนาการที่สมวัยจากฝั่งผู้ให้บริการการพัฒนาเด็กปฐมวัย
การวิเคราะห์คุณภาพในการพัฒนา เด็กปฐมวัย
คุณภาพของสถานศึกษาในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
คุณภาพการพัฒนาเด็กปฐมวัยผ่านพัฒนาการของเด็ก
แนวทางการยกระดับคุณภาพในการพัฒนา เด็กปฐมวัย
ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ภาครัฐต้องกระจายคุณภาพและประสิทธิภาพของการให้บริการที่เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัยให้ทั่วถึงและเท่าเทียมเพื่อลดความแตกต่างของพัฒนาการของเด็กตามพื้นที่และความแตกต่างทางเศรษฐกิจและสังคมมุ่งสู่การทำให้เด็กปฐมวัยทุกคนสามารถมีพัฒนาการที่สมวัยควบคู่ไปกับ
ยกระดับพัฒนาการที่สมวัยของเด็กให้ไปสู่การพัฒนา
ทักษะศตวรรษที่ 21 โดยในแต่ละลำดับขั้นมีรายละเอียด
แนวทางปฏิบัติจำแนกตามระดับผู้รับผิดชอบ
การปรับทัศนคติของผู้ปกครอง
สภาพปัจจุบันการจัดการศึกษา
ปฐมวัยในประเทศไทย
การดูแลและการจัดการศึกษาปฐมวัย
ประสิทธิภาพ (Efficiency) ซึ่งการศึกษาสภาวการณ์ปฐมวัยจะวิเคราะห์ประสิทธิภาพของการดำเนินนโยบายของรัฐบาลหรือโครงการของหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องที่มีบทบาทในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
3) คุณภาพ (Quality) โดยการวิเคราะห์ผ่านสองทางทางแรกคือจากปัจจัยนำเข้า (Input) ช่องทางที่สองคือจากผลลัพธ์ (Outcome) ของพัฒนาการทั้งนี้ปัจจัยด้านการเข้าถึงและ
ปัจจัยด้านประสิทธิภาพมีความเป็นไปได้ที่จะเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อคุณภาพของการให้
บริการนอกเหนือปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม
การเข้าถึง (Accessibility) การเข้าถึงการตั้งครรภ์และการดูแลเด็กในช่วงปฐมวัยที่เหมาะสมการเข้าถึงการดูแลทางด้านสาธารณสุขและโภชนาการและการเข้าถึงในระดับการศึกษาปฐมวัย
สภาพและผลการจัดการศึกษาปฐมวัย
ในประเทศไทย ด้านประสิทธิภาพ
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพในการ
พัฒนษเด็กปฐมวัย
ผลการประเมินประสิทธิภาพในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
การจัดสรรทรัพยากรในการพัฒนาเด็กปฐมวัยของประเทศไทย
สรุปประเด็นท้าทายด้านประสิทธิภาพการพัฒนา
เด็กปฐมวัย
การดำเนินงานที่ทำให้ทรัพยากรถูกนำไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
การกระจายทรัพยากรที่มีคุณภาพเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่าง
มีประสิทธิภาพ
กรอบแนวคิดในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพ การพัฒนาของเด็กปฐมวัย
แนวโน้มการจัดการศึกษาปฐมวัยของ
ประเทศไทยในอนาคต
การพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีทักษะตามความต้องการของโลกอนาคต
ทักษะของเด็กปฐมวัยในโลกอนาคตการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่โลกยุคดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบทำให้โลกการทำงานและสังคมเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและมีผลต่อทักษะที่
เด็กควรจะมีจนทำให้สิ่งที่เด็กเรียนอยู่ในตอนนี้หรือทักษะที่จำเป็นในปัจจุบันอาจไม่มี
ความจำเป็นหรือเหมาะสมอีกสำหรับอาชีพในโลกอนาคตหรือสิ่งเด็กที่กำลังเรียนอยู่ใน
ขณะนี้ต้องเรียนเพื่อทำงานในอาชีพที่ปัจจุบันยังไม่ได้เกิดขึ้น
แนวทางการส่งเสริมเด็กปฐมวัยให้มีทักษะตามความต้องการของโลกอนาคตการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีทักษะตามศตวรรษที่ 21 นั้นไม่สามารถเกิดขึ้นได้หากคาดหวังเพียงบทบาทของกลุ่มใด
กลุ่มหนึ่งการพัฒนาให้ทักษะดังกล่าวเกิดขึ้นอย่างยั่งยืนและต่อเนื่องนั้นต้องได้รับแรง
สนับสนุนและการผลักดันหลากหลายด้านจากผู้ที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ระดับจุลภาค (Micro Level) ไปจนถึงระดับมหภาค (Macro Level) ซึ่งจะต้องร่วมมือกันเพื่อคิดค้นแนวทางส่งเสริม เด็กปฐมวัยทั้งที่บ้านและที่โรงเรียนผ่านกลยุทธ์และวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลาย
ปัจจัยและแนวทางการส่งเสริมเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการที่สมวัย
ปัจจัยด้านลักษณะส่วนบุคคลของผู้เลี้ยงดูเด็ก เด็กที่มีพัฒนาการสูงนั้นโดย
ส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มของครัวเรือนที่มีรายได้ในระดับสูงเนื่องจากสถานะ รายได้ของครัวเรือนย่อมเป็นปัจจัยที่สำคัญอันบ่งชี้ให้เห็นถึงโอกาสในการ เข้ารับการศึกษาและการได้รับความดูแลจากครอบครัวของเด็ก
ปัจจัยด้านพฤติกรรมและสุขภาพของมารดาในขณะตั้งครรภ์ พบว่าเด็กที่มี
พัฒนาการสมวัยขึ้นอยู่กับอายุครรภ์เมื่อฝากครรภ์ครั้งแรกและการได้เข้าไป ฝากครรภ์คุณภาพรวมถึงพฤติกรรมการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์อัน
สามารถให้สารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกายได้
ปัจจัยด้านลักษณะของบุคคลของเด็กเมื่อแรกคลอด และพันธุกรรม
ปัจจัยด้านสุขภาพร่างกายของเด็ก ผู้ปกครองควรนำเด็กเข้าพบทันตแพทย์ในทุกๆ 6 เดือนเพื่อตรวจสุขภาพฟันและรับคำแนะนำรวมถึงพยายามตรวจและสังเกตฟันของเด็กอยู่เป็นประจำ
ปัจจัยด้านภาวะโภชนาการของเด็ก การพัฒนาองค์ความรู้ด้านโภชนาการให้แม่เพื่อดูแลอาหารของเด็กในแต่ละช่วงวัยอย่างเหมาะสมโดยเฉพาะการให้กินนมแม่ที่เด็กทารกจำเป็นจะต้องกินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อยประมาณ 6 เดือน
ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมทางสังคมและจิตวิทยา
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์
นางสาวอภิญญา ปุลันรัมย์ เลขที่ 28
นางสาวอรพรรณ เห็นจงชม เลขที่ 30