Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Climate change in Southeast Asia: Focused actions on the frontlines of…
Climate change in Southeast Asia: Focused actions on the frontlines of climate change
3. ADB responds at the regional and Country Levels
Regional Programs
GMS เพื่อประเมินความเสี่ยง เน้นการใช้ชีวิต ระบบนิเวศในท้องถิ่น เกษตร อาหาร พลังงานน้ำ ท่องเที่ยว ขนส่ง จัดหาแหล่งเงินทุนของ REDD+ ให้กับชุมชน
ส่งเสริมการจัดหาเงินทุน
ภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS): กัมพูชา ลาว เมียนมาร์ ไทย เวียดนาม และมณฑลยูนนานและกวางสีในจีน
ส่งเสริมการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
ส่งเสริมการประสานงานและความกลมกลืนของการจัดการโครงการ
Country Programs
กัมพูชา
เน้นการเกษตร น้ำและระบบนิเวศชายฝั่ง ป่าไม้และการใช้ที่ดิน สุขภาพ (โรคมาลาเรีย)
อินโดนีเซีย
พลังงาน การใช้ที่ดิน และป่าไม้ และภาคทางทะเล
สปป. ลาว
เน้นเกษตร ป่าไม้ ทรัพยากรน้ำ และสาธารณสุข
ฟิลิปปินส์
ลดก๊าซเรือนกระจก ลงทุนด้านก๊าซชีวภาพ เทคโนโลยีมีเทน และพลังงานหมุนเวียน การกักเก็บคาร์บอน
ประเทศไทย
เน้นความพยายามในการปรับตัว การสร้างขีดความสามารถในการปรับตัว ลดก๊าซเรือนกระจก
เวียดนาม
การประเมินผลกระทบ ป่าไม้ ลดการปล่อยมลพิษจากการขนส่ง อุตสาหกรรม เกษตร
Going Forward
ADB ระดมเงินทุนที่ตอบสนองความต้องการของประเทศที่กำลังเติบโต สร้างพันธมิตรกับผู้บริจาค
การปรับตัวเข้ากับกลยุทธ์การพัฒนาและการลดความยากจน
1. ภูมิอากาศเปลี่ยนเป็นความเสี่ยงที่สำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
เวียดนาม
ปริมาณน้ำฝน
อุณหภูมิสูงขึ้น
การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลในพื้นที่ชายฝั่งทะเล
ส่งผลต่อผลผลิตทางการเกษตร
ความหลากหลายทางชีวภาพ
โรคมาลาเรียและไข้เลือดออกมากขึ้น
ความต้องการพลังงานและน้ำที่เพิ่มขึ้น
การชะลอการพัฒนาเศรษฐกิจ
น้ำสะอาดไม่พอ
สุขภาพ
การระบาดของโรคติดเชื้อที่เกิดจากพาหะนำโรค (ไข้เลือดออกและมาลาเรีย)
โรคที่เกิดจากน้ำ (ท้องร่วงและอหิวาตกโรค)
โรคระบบทางเดินหายใจได้เพิ่มขึ้น
กลุ่มเสี่ยง: เด็ก สูงอายุ
อินโดนีเซีย
แหล่งน้ำ
น้ำท่วมมากขึ้นเรื่อยๆ
พายุหมุนเขตร้อนที่แรงขึ้น
ความรุนแรงและความถี่ ทำให้เกิดความเสียหายอย่างกว้างขวาง
ชีวิตมนุษย์ และการดำรงชีวิต
ทรัพย์สินในการผลิต
ต่อทรัพย์สิน
อุณหภูมิที่สูงขึ้น ปริมาณน้ำฝนน้อยลงทำให้แม่น้ำ เขื่อน และอ่างเก็บน้ำอื่นๆ ลดลง
ล้มเหลวของพืชผล อาหารลดลง
เกษตรกรรมและระบบนิเวศ
ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมประมาณ 115 ล้านเฮกตาร์
ศัตรูพืชและโรคทำให้ผลิตทางการเกษตรลดลง
ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น น้ำเค็มเข้าไปในพื้นที่เกษตรกรรม ทำให้เกิดการสูญเสีย
ทรัพยากรป่าไม้
มีป่าไม้ 203 ล้านเฮกตาร์
มีการตัดไม้ทำลายป่าเชิงเเชิงพาณิชย์
พื้นที่ 3 ล้านเฮกตาร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ถูกเผา ปล่อยคาร์บอน 3 ถึง 5 (PgC)
เกิดภัยพิบัติเพิ่มขึ้น
ฟิลิปปินส์
ทรัพยากรชายฝั่งและทางทะเล
จากอุณหภูมิที่อุ่นขึ้นจะนำไปสู่อัตราการฟอกขาวของปะการังที่เพิ่มขึ้น
และยังเป็นการทำลายพืชป่าชายเลน ชีวิตในทะเลชายฝั่ง
2. what ADB Is doing
ขยายการใช้พลังงานสะอาดและพลังงานหมุนเวียน
เงื่อนไข
การเปลี่ยนแหล่งพลังงานหมุนเวียน และการดักจับและกักเก็บคาร์บอนลด 40% โดยมีค่าใช้จ่ายน้อยกว่า 1% ของ GDP
โครงการพลังงานสะอาดลดการปล่อย CO2 เทียบเท่า 475 เมตริกตัน
เป้าหมายADB
การควบคุมการเติบโตของความต้องการพลังงานโดยการเพิ่มประสิทธิภาพพลังงาน
และตอบสนองความต้องการด้านพลังงานผ่านทางเลือกคาร์บอนต่ำ
ส่งเสริมการพัฒนาเมืองและการขนส่งอย่างยั่งยืน
โครงการตลาดคาร์บอน ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ADB สนับสนุนการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลดลง
ส่งเสริมการพัฒนาที่ทนต่อสภาพอากาศ
กระทบต่อแหล่งต้นน้ำ
ทำนโยบาย/แนะนำทางเทคนิคเพื่อแก้ไขปัญหาในการเกษตร โครงสร้างพื้นฐาน การขนส่ง สุขภาพ น้ำ และภาคส่วนอื่นๆ
การออกแบบวางแผนเพื่อรับมือกับผลกระทบ ลดการสูญเสียน้ำ
เสริมสร้างนโยบาย ธรรมาภิบาล และศักยภาพ
สนับสนุนการบรรเทาและการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
เพิ่มประสิทธิภาพในการใช้พลังงาน
ช่วยให้เข้าถึงการจัดหาเงินทุนคาร์บอน
ส่งเสริมการใช้ตลาดคาร์บอนเพื่อใช้ประโยชน์จากการลงทุน
การจัดการการใช้ที่ดินและป่าไม้เพื่อการกักเก็บคาร์บอน
สนับสนุนให้ อนุรักษ์ป่าไม้ ลดการเสื่อมโทรมของที่ดิน และฟื้นฟูพื้นที่พรุ
เตรียมความพร้อมใช้ที่ดินและป่าไม้สำหรับการกักเก็บคาร์บอน
การปรับปรุงการจัดการป่าไม้และที่ดิน ช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากสุด