Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ตัวแปร - Coggle Diagram
ตัวแปร
หลักการเขียนคำนิยามตัวแปร
หากตัวแปรที่จะนิยามมีความซับซ้อนเกี่ยวข้องกับหลายๆ มโนทัศน์
ควรนิยามมโนทัศน์ก่อนแล้วค่อยนิยามตัวแปร
ตัวแปรบางตัวที่ไม่ใช่ตัวแปรในการวิจัย
แต่เป็นคำสำคัญ ก็ควรนิยามให้เข้าใจตรงกัน
ไม่ควรแยกนิยามโดยการตัดออกเป็นส่วนๆ
เขียนคำนิยามให้กับตัวแปรที่ปรากฏอยู่ในปัญหาวิจัยทุกตัว
การนิยามเชิงปฏิบัติการ
ให้ความหมายโดยกำหนดสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการสร้างขึ้นมาเป็นเงื่อนไข
เพื่อให้เป็นสาเหตุนำไปสู่การเกิดปรากฏการณ์
ให้ความสามารถโดยมีการสร้างพฤติกรรม
ให้ความหมายเชิงรูปธรรมของสิ่งที่ถูกวัด
ประเภทของตัวแปร
พิจารณาตามลักษณะของคุณสมบัติที่แปรค่าออกมา
ตัวแปรเชิงปริมาณ
ระยะทาง
เงินเดือน
อายุ
ตัวแปรเชิงคุณภาพ
ศาสนา
คริสต์
อิสลาม
พุทธ
พิจารณาตามความต่อเนื่องของคุณลักษณะ
ตัวแปรต่อเนื่อง
น้ำหนัก
อายุ
ความยาว
ตัวแปรไม่ต่อเนื่อง
ตัวแปรศาสนาที่ 2
คริสต์
ตัวแปรศาสนาที่ 3
อิสลาม
ตัวแปรศาสนาที่ 1
พุทธ
แบ่งตามประเภทของพฤติกรรมของมนุษย์
ตัวแปรเชิงนามธรรม
ทัศนคติ
ความก้าวร้าว
ความเกรงใจ
ตัวแปรเชิงรูปธรรม
อายุ
น้ำหนัก
เพศ
พิจารณาตามความสำคัญของตัวแปร
ตัวแปรที่ต้องการ
ตัวแปรอิสระ
อายุ
สถานภาพการสมรส
เพศ
ตัวแปรตาม
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากความยากจน
ตัวแปรที่ไม่ต้องการ
ตัวแปรเกิน
ตัวแปรอิสระที่ไม่ต้องการศึกษา แต่ส่งผลต่อตัวแปรตาม
ตัวแปรสอดแทรก
เป็นตัวแปรที่ไม่ต้องการศึกษาชองงานวิจัยเรื่องหนึ่ง ลักษณะเหมือนตัวแปรอิสระ
ความสำคัญของตัวแปร
เป็นตัวเชื่อมโยงกับสมมุติฐานงานวิจัย
ผู้วิจัยอาจสนใจศึกษา เกี่ยวกับตัวแปรในลักษณะต่างๆ โดยอาจตั้งสมมติฐาน
ตัวแปรช่วยทำให้สามารถวัดและทดสอบได้
เพราะมีลักษณะเป็นรูปธรรม
เป็นตัวเชื่อมโยงกับแนวคิดและทฤษฎี
แนวคิดและทฤษฎี มีลักษณะเป็นนามธรรมสูง การศึกษาจากตัวแปรจึงลดระดับความเป็นนามธรรมลงได้
ตัวแปรจะช่วยให้เลือกใช้สถิติวิเคราะห์ได้เหมาะสม
การกำหนดตัวแปรที่ศึกษาให้อยู่ในระดับการวัด
ระดับนามบัญญัติ
ระดับจัดอันดับ
ระดับอันตรภาค
ระดับอัตรส่วน
ความหมายของตัวแปร
คือคุณลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งที่ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษา ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงค่าได้
การนับถือศาสนา
พุทธ
คริสต์
อิสลาม
จังหวัด
เชียงราย
นครสวรรค์
กรุงเทพ
เพศ
ชาย
หญิง