Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคเลือดในหญิงตั้งครรภ์ ✍🏼 ธาลัสซีเมีย (Thalassemia) 🩸 - Coggle Diagram
โรคเลือดในหญิงตั้งครรภ์
✍🏼 ธาลัสซีเมีย (Thalassemia) 🩸
ชนิดและผลของธาลัสซีเมีย
ต่อการตั้งครรภ์
1․Alpha - thalassemia
การขาดหายไปของ ∝-globin gene
ที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่16
Hb H disease (--/-∝)
❇Hb Bart’s hydrop fetalis (--/--)
✍🏽ผลต่อมารดา ⇒ ภาวะความดันโลหิตสูง
ในระหว่างตั้งครรภ์ การคลอดยาก
และการตกเลือดหลังคลอด
2․ Beta-Thalassemia
การขาดหายไปของ ß-globin chain
ที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่ 11
Homozygous beta-Thalassemia,
Cooley’s anemia
❇ผลต่อมารดา มารดาจะซีดมากต้องให้เลือดเสมอ
Hb E disease
มี HbA2 และ HbF เพิ่มมากกว่าปกติ
❇ผลต่อมารดา มารดามักไม่ซีดมาก
👉🏿ผลต่อทารก มีอาการซีดเล็กน้อยถึงปานกลาง
อาการและอาการแสดง
1․ Chroic hemolytic anemia
2․ Thalassemia facies
3․ Dysmature อาจตรวจพบ
ทารกตัวเตี้ย น้ำหนักน้อย
4․ Hemochromatosis
5․ Cardiac arrhythmia ตรวจพบ
โรคหัวใจโต หัวใจเต้นเร็วเหนื่อยง่าย
Hemolytic crisis พบได้บ่อยใน
ผู้ป่วยซีดอย่างรวดเร็ว และรุนแรง
7․ Hemostatic defect
อาการมีเลือดออกง่าย
8․ ม้ามโต (hypersplenism)
การรักษา
1․ การทำ blood transfusion
ในกรณี Hb ต่ำกว่า 8 g/dL
และให้ยาบารุงที่ไม่มีธาตุเหล็ก
2․ การผ่าตัดโดยการตัดม้าม (Splenactomy)
3․Iron chelation
การดูแลระยะคลอด
และระยะหลังคลอด
1.ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการติดเชื้อ
การทำงานของหัวใจล้มเหลว นิ่วในถุงน้ำดี และการเกิดแผลเรื้อรัง
2․ดูแลให้ผู้คลอดและทารกในครรภ์ให้คลอดโดย
วิธีที่ปลอดภัยมากที่สุด และเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อน หลังคลอดน้อยที่สุด
3․ติดตามความผิดปกติของทารกต่อไป
ในรายที่เป็นพาหะนาโรค
4․การคุมกำเนิด ในรายที่เป็นพาหะ
การดูแลผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมีย
1․รักษาความสะอาดของร่างกาย ปาก ฟัน
2․ รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
และอาหารที่มีโปรตีนสูง
3․ ไปพบแพทย์ตามนัดทุกครั้ง ปฏิบัติตามที่แพทย์แนะนำ
4․ ไม่ควรเปลี่ยนสถานที่รักษาบ่อยๆ เพราะจะทำให้การรักษาไม่ต่อเนื่อง
5․ เมื่อมีไข้ ควรเช็ดตัวลดไข้ และให้ดื่มน้ำมากๆ
6․ ป้องกันอุบัติเหตุที่จะทำให้เสียเลือด
หรือกระดูกหัก
7․ ควรพักผ่อนอย่างเพียงพอ
8․ ให้ความรักเอาใจใส่ ให้กำลังใจ
การวินิจฉัย
การซักประวัติและ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเม็ดเลือดแดง (CBC)
การตรวจชนิดของฮีโมโกลบิน
(Hb Typing)
หมายเหตุ
✍🏼ถ้าพ่อหรือแม่เป็นพาหะ เพียงคนเดียว
โอกาสที่ลูกจะเป็นพาหะเท่ากับ2ใน4
หรือครึ่งต่อครึ่ง แต่จะไม่มีลูกคนใดเป็นโรค
✍🏼ถ้าพ่อและแม่เป็นพาหะของธาลัสซีเมีย ชนิดเดียวกัน โอกาสที่ลูกจะเป็นโรคเท่ากับ 1 ใน 4
โอกาสที่จะเป็นพาหะเท่ากับ 2 ใน 4
และเป็นปกติเท่ากับ 1 ใน 4
✍🏼ถ้าพ่อแม่เป็นพาหะที่ไม่เหมือนกัน
แต่อยู่ในพวกเดียวกัน หรือ alpha thalassemia
ด้วยกัน และอีกฝ่ายไม่มียีนผิดปกติ
ลูกทุกคนจะมีภาวะแฝงเท่านั้นไม่เป็นโรค
✍🏼ถ้าพ่อและแม่อีกฝ่ายหนึ่ง เป็นพาหะ
ของธาลัสซีเมียพวกเดียวกัน
ลูกครึ่งหนึ่งจะพาหะ อีกครึ่งหนึ่งเป็นโรค