Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Social Cognitive Learning Theory :Albert Bandura ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม…
Social Cognitive Learning Theory :Albert Bandura
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญา
ความหมาย
การเรียนรู้ของมนุษย์ส่วนมากเป็นการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือการเลียนแบบ
การเรียนรู้โดยการสังเกตหรือเลียนแบบ (Observational Learning / Modeling)
การเรีียนรู้เกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมและผู้เรียนมีความสำคัญเท่าๆกัน
การปรับตัวคือการเลียนแบบ
ให้ความสำคัญกับการสังเกตการกระทำแล้วทำตาม เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ในสภาพสังคม เช่น การเล่นดนตรี
Modeling ตัวแบบ
ตัวแบบที่มีชีวิต(Live Model)
พฤติกรรม ท่าที คำพูดของบุคคลท่ีพบเจอ
ตัวแบบสัญลักษณ์ (Symbolic Model)
สัญลักษณ์ในละคร/ ภาพยนตร์/ Cartoon Character / ขา่ว/Game Online / Social Media
ตัวแบบในรูปคำสอน (Verbal Description or Instruction)
การพูดหรือบอกวาจา คู่มือคัมภีร์ หลักคำสอนทางศาสนา
การเรียนรู้ทางสังคมด้วยการรู้คิดจากการเลียนแบบ มี 2 ขั้นตอน
ขั้น ๑ การรับมาซึ่งการเรียนรู้ Acquisition
การรับสิ่งเร้าเข้ามา input
บุคคล person
ขั้น ๒ การกระทำ Performance
บุคคล person
พฤติกรรมตอบสนอองหรือการส่งออก Output
คุณสมบัติในการลอกเลียนแบบ
รับรู้สิ่งเร้า >สร้างรหัส>บันทึกไว้ในความทรงจำระยะยาว>เรียกใช้เมื่อต้องการเลียนแบบพฤติกรรม
พฤติกรรมมนุษย์มี ๓ แบบ
พฤติกรรมที่เรียนรู้ และมีการแสดงออกอย่างสม่ำเสมอ
พฤติกรรมทีึ่เรียนรู้แล้วไม่ค่อยแสดงออก
หลักการ ๓ ประการ
๒ การเรียนรู้เป็นความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ ๓ ประการ
Person
Environment
Behavior
๓ ผลการเรียนรู้กับการแสดงออกจะแตกต่างกัน บางสิ่งเรียนรู้แล้วอาจไม่แสดงออก
๑ กระบวนการเรียนรู้อาศัย
กระบวนการทางปัญญาและทักษะการตัดสินใจ
กระบวนการ
กระบวนการใส่ใจ >กระบวนการจดจำ>กระบวนการแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบ>กระบวนการจูงใจ