Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) - Coggle Diagram
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
(Constructivism)
ทฤษฎีการเรียนรู้
พุทธินิยม (Cognitivism)
นักทฤษฎี
วีก็อทสกี้ (Vygotsky)
เน้นความสำคัญ ความแตกต่างระหว่างบุคคล และการให้ความช่วยเหลือผู้เรียนเพื่อให้ก้าวหน้า
พัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาของบุคคล นั้นมีอิทธิพลมาจาก สถาบันทางสังคมต่างๆ สถาบันครอบครัว และ ภาษาเป็นเครื่องมือสำคัญของการคิดและพัฒนาขั้นสูง
การเรียนรู้ต้องดำเนินการอยู่ในบริบท และกิจกรรมและงานที่ใช้ในการเรียนรู้ต้องเป็นสิ่งจริง
เพียเจต์ (Piaget)
พัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาของบุคคล พัฒนาการเกิดขึ้นเมื่อบุคคลปรับตัวผ่านทางกระบวนการซึมซาบข้อมูล และ กระบวนการปรับโครงสร้างทางปัญญา
กระบวนการปรับโครงสร้างทางปัญญา
ประสบการณ์การคิดเชิงตรรกะและคณิตศาสตร์
ปฏิสัมพันธ์และประสบการณ์กับสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ
การถ่ายทอดความรู้ทางสังคม
วุฒิภาวะ
กระบวนการพัฒนาความสมดุล
กระบวนการซึมซาบข้อมูล
กระบวนการซึมซาบข้อมูลหรือประสบการณ์ใหม่
เข้าไปสัมพันธ์กับความรู้หรือโครงสร้างเดิม
สัมพันธ์ไม่ได้ = ภาวะไม่สมดุล
สัมพันธ์ได้ = ภาวะสมดุล
อุลริค ไนส์เซอร์ (Ulrich Neisser)
ส่วนหนึ่งของการบวนการรู้คิด การรู้สึก การรับรู้ จินตนาการ การระลึกได้ การจำ การคงอยู่ การแก้ปัญหา การคิด
โจแนสเซน (Jonassen)
การสร้างความรู้จะให้ความสำคัญกับกระบวนการและวิธีการ ในการสร้างความรู้ความเข้าใจจากประสบการณ์ รวมทั้งโครงสร้างทางปัญญาและความเชื่อ
หมายถึง
กระบวนการรู้คิด กระบวนการทางปัญญา
การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการเรียนการสอน
เปลี่ยนจากสาระความรู้ที่ตายตัวไปสู่การสาธิต
การสร้างความหมายที่หลากหลาย
ผลการเรียนเน้นไปที่กระบวนการสร้างความรู้ และการตระหนักรู้
เป้าหมายการเรียนรู้มาจากการปฏิบัติงานจริง
ผู้เรียนมีบทบาทการเรียนรู้อย่างตื่นตัว อยู่ในบริบทจริง
ครูสร้างบรรยากาศทางสังคมจริยธรรมให้เกิดขึ้น
ครูเปลี่ยนบทบาทจากให้ความรู้ เป็นการให้ผู้เรียนสร้างความรู้
ผู้เรียนมีบทบาทในการเรียนรู้อย่างเต็มที่
การประเมินผลการเรียนการสอน ประเมินตามจุดมุ่งหมายในลักษณะที่ยืดหยุ่น หลากหลาย การวัดผลต้องใช้กิจกรรมในบริบทจริง เกณฑ์ที่ใช้ควรใช้ในโลกความเป็นจริง