Partial gut obstruction
คือ ภาวะที่ไม่มีการลำเลียงกากอาหาร/มีการขัดขวางการเคลื่อนผ่านของกากอาหาร
click to edit
หญิงไทยวัย86ปี
CA rectum(มะเร็งลำไส้)
ภาวะของการมีเนื้อเยื่ออักเสบเรื้อรัง
2สัปดาห์ที่แล้วผ่าตัด
ทำทวารเทียม(colostomy)
Pt=แน่นท้อง ไม่ถ่ายมา3วัน
CC= 1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ท้องอืด แน่นท้อง
ไม่มีเลือดไหลเวียน
เกิดการคั่งของสาตเหลวและแก๊สจำนวนมากเหนือตำแหน่งที่อุดตัน
การดูดซึมเข้าของผนังลำไส้ได้ไม่ดี
ผนังลำไส้และช่องว่างของลำไส้เกิดการบวมและขยายออก
Pt=แน่นท้อง ไม่ถ่ายอุจจาระมา3วัน ไม่ผายลม
Pt=ปวดท้องเป็นบางครั้ง
รับประทานอาหารได้น้อย
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
การพยาบาล
-ดูแลประเมินภาวะขาดสารอาหาร
-ให้ได้รับkabiven iv rate 60 ml/hr
-ให้ได้รับสารน้ำ NSS 1000 ml iv rate 40 ml/hr
-ให้ได้รับ liquid diet
-ติดตามและบันทึกI/O
1.Ascending colostomy
นำส่วนต้นของลำไส้ใหญ่มาเปิดเป็นstoma
2.Transverse colostomy (loop colostomy)
นำส่วนขวางของลำไส้ใหญ่มาเปิดเป็นstoma
3.Sigmoid colostomy(End colostomy)
นำส่วนปลายของลำไส้ใหญ่มาเปิดเป็นstoma
Pt=มี loop colostomy ที่หน้าท้องด้านขวา
พร่องความรู้เกี่ยวกับการดูแลถุงรองรับอุจจาระ
การพยาบาล
-ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับการดูแลทำความสะอาดถุงรองรับอุจจาระ
1.ควรเทอุจจาระเมื่อมีปริมาณ1/2หรือ1/3 ของถุง เพื่อป้องกันแป้นหรือถุงหลุดจากการถ่วงน้ำหนักของของเสีย
- เทของเสียออกจากถุงรองรับอุจจาระ
- ใส่น้ำทำความสะอาดทางปลายถุงให้สะอาด และใช้กระดาษชำระเช็ดก่อนปิดถุง
-ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่เหมาะสม
- สามารถรับประทานอาหารได้ตามปกติเหมือนก่อนผ่าตัดอาหารที่ช่วยให้อุจจาระเป็นก้อนและควบคุม อาการท้องเดินเช่น กล้วย เนยแข็ง และ มันฝรั่ง เป็นต้น
- อาหารที่ช่วยให้อุจจาระเหลว หรือทําให้มีอาการท้องเดิน ได้แก่ แอลกอฮอล์ ถั่วแห้ง บร๊อคโคลี อาหารที่มีมัน ผักใบเขียว กะหล่ำปลี กะหล่ำดอก อาหารรสเผ็ดจัด อาหารรสหวานมาก นม น้ําผลไม้ และ ลูกพรุน
- การมีแก็สในลําไส้มาก เกิดจากอาหารประเภท ถั่ว เบียร์ หัวหอม กระหล่ำปลี การเคี้ยวไม่ละเอียด พูดคุย ขณะรับประทานอาหาร การดูดน้ำจากหลอด การสูบบุหรี่และการเคี้ยวหมากฝรั่ง เป็นต้น ควบคุมแก็ส โดยเลี่ยงอาหาร ตระกูลถั่ว น้ำอัดลม การเคี้ยวหมากฝรั่งและการพูดคุยขณะรับประทาน
- อาหารที่ทําให้เกิดกลิ่น ได้แก่ อาหารทะเล อาหารรสเผ็ด ไข่ ชะอม สะตอ ประเภทถั่ว กระเทียม หัว หอม หน่อไม้ฝรั่ง เนื้อ และเครื่องเทศ เป็นต้น การลดกลิ่น โดยรับประทาน ผักชีฝรั่ง ผักใบเขียวเข้ม บัตเตอร์มิลด์ และโยเกิร์ต
สาเหตุ
1.ภาวะลำไส้ตีบตัน(Mechanical obstructions)
-มีการอุดตันของทางเดินลำไส้
-เกิดพังผืดในลำไส้
-ปัจจัยต่างๆ เช่น มะเร็งลำไส้ใหญ่ เนื้องอกในลำไส้เล็ก ไส้เลื่อน นิ่วในถุงน้ำดี เป็นต้น
2.ภาวะลำไส้อืด(Nonmechanical obstructions)
-ภาวะการทำงานผิดปกตอของลำไส้ ไม่สามารถบีบตัวและเคลื่อนไหวได้ตามปกติ ส่งผลต่อการทำงานของระบบขับถ่าย (Paralytic Ileus) โดยมีสาเหตุมาจากปัจจัยต่างๆ ได้แก่ การผ่าตัดในช่องท้องหรืออุ้งเชิงกราน การติดเชื้อ เช่น กระเพาะอาหารลำไส้อักเสบ ไส้ติ่ง
ไม่สุขสบายเนื่องจากอาจมีอาการปวดท้องเพิ่มมากขึ้น
การพยาบาล
-ประเมินอาการปวดของผู้ป่วยด้วยpain score
-จัดท่า Fowler’s position เพื่อให้หน้าท้องหย่อน และลดอาการปวดตึง
-วัดและติดตาม V/S ทุก 4 ชั่วโมง
-ให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ โดยจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม ไม่มีเสียงรบกวน
Potassium ในเลือดต่ำ
การพยาบาล
-ประเมินอาการของภาวะ hypokalemia เช่น ระดับความรู้สึกตัวลดลง ซึม สับสน กล้ามเนื้ออ่อนแรง
-ให้ได้รับยา E.Kcl 30 ml po q 3 hr
-ให้ได้รับ liquid diet
-Record I/O ทุก 8 ชั่วโมง เพื่อติดตามการสูญเสียโพแทสเซียม
-วัดและติดตาม V/S ทุก 4 ชั่วโมง
ลดปริมาตรน้ำเลือด เลือดข้น
ลดแรงดันหลอดเลือดดำกลาง(CVP)
หัวใจเต้นเร็ว
ช็อค
ขาดเลือดไปเลี้ยง
ลำไส้ทะลุ
เพิ่มการซึมผ่านหลอดเลือดฝอย
ปล่อยสารพิษ/เชื้อโรค
เยื่อบุช่องท้องอักเสบ