Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธสิภาพระบบต่อมไร้ท่อ, นายอรรคเดช เพชรมีศรี…
บทที่ 6 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธสิภาพระบบต่อมไร้ท่อ
อาการของโรคเบาหวาน
-ผิวแห้ง
-ตาพร่ามัว
-หิวบ่อยรับประทานจุแต่น้ำหนักลด
-ชาบริเวณปลายมือปลายเท้า
-หิวน้ำบ่อย
-หย่อนสมรรถภาพทางเพศ
-ปัสสาวะบ่อย
-เป็นแผลแล้วหายยาก
การให้ความรู้และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วย
การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพจะส่งผลให้ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจวิธีคิดรวมค่านิยมความเชื่อและทัศนคติที่เปลี่ยนแปลงไปซึ่งจะทำให้ผู้ป่วยเกิดการพัฒนาทักษะที่จะส่งผลให้พฤติกรรมสุขภาพเกิดการเปลี่ยนแปลงตามมา
การพยาบาลผู้ป่วยต่อมพาราไทรอยด์และไทรอยด์ผิดปกติ
ระดับแคลเซียมในกระแสเลือดจะสูงเมื่อแคลเซียมในกระดูกถูกดงึออกมามากๆกระดูกก็จะบางลงและเป็นโรคกระดูกพรุน ในที่สุดและเมื่อแคลเซียมสูงมากๆจะส่งผลต่อหัวใจร่างกายจงึพยายามปกป้องหัวใจด้วยการขับแคลเซียมออกทางปัสสาวะทำให้ปัสสาวะบ่อยกระหายน้ำไตทำงานหนักเมื่อร่างกายขาดน้ำมากๆทำให้เสี่ยงต่อภาวะไตวายและเมื่อมีแคลเซียมอยู่ในปัสสาวะมากก็ทำให้เสี่ยงต่อนิ่วในไตหลายคนเป็นเรื้อรังมากจะมีอาการปวดท้องบ่อยๆหรือมีอาการทางจิต เวชพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงได้
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพของต่อมใต้สมอง
สาเหตุของเนื้องอกต่อมใต้สมองการเกิดเนื้องอกต่อมใต้สมองยังไม่สามารถระบุสาเหตุได้ชัดเจนและยังไม่มีหลักฐานที่ยืน ยันได้ว่ามีปัจจัยแวดล้อมใดบ้างที่ก่อให้เกิดเนื้องอกใต้สมองโดยตรงแต่การกลายพันธุ์ของดีเอ็นเอเป็นปัจจัยหนึ่งที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดเนื้องอกหรือโรคมะเร็งจึงทำให้ผู้ที่มีสมาชิกในครอบครัวมีภาวะของกลุ่มอาการเนื้องอกของต่อมไร้ท่อหลายต่อมชนิดที่ 1 มีความเสี่ยงต่อการเกิดเนื้องอกต่อมใต้สมองมากกว่าคนทั่วไป
Pituitary คือ ต่อมขนาดเล็กใต้สมอง-โกรท ฮอร์โมน (Growth Hormone) ทำหน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย-โกนาโดโทรฟิก ฮอร์โมน (Gonadotrophic Hormone) ทำหน้าที่กระตุ้นการสร้างเซลล์สืบพันธ์-แอนติไดยูเรติก ฮอร์โมน (Antidiuretic Hormone) ทำหน้าที่ควบคุมสมดุลน้ำในร่างกาย
แนวทางการรักษาการรักษา หลักคือการผ่าตัดเนื้องอกออกการจะทราบว่ามีเนื้องอกกี่ก้อนต้องผ่านการตรวจด้วยวิธีพาราไทรอยด์สแกนก่อนบางคนที่มีข้อห้ามในการผ่าตัดอาจใช้การฉีดแอลกอฮอล์ที่เนื้องอกเพื่อให้เนื้องอกฝ่อแต่ต้องทำโดยผู้ที่ชำนาญและผลการรักษาไม่ดu เท่าการผ่าตัดโดยได้ผลในก้อนเนื้องอกเดี่ยวๆมากกว่าต่อมพาราไทรอย์โตทั่วๆไปการรักษาสุดท้ายคือใช้ยารับประทาน ซึ่งผลการรักษาไม่ดีนักและใช้รักษาในผู้ที่มีอาการไม่มากหรือไม่มีอาการเลย
การรักษาเนื้องอกต่อมใต้สมอง -การผ่าตัด -การฉายแสง -การใช้ยา
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพของต่อมหมวกไตอาการแสดง ฮอร์โมนที่เนื้องอกนั้นผลิตขึ้นมา เช่น เมื่อคนไข้มีเนื้องอกของต่อมหมวกไตที่ผลิตฮอร์โมนอะดรีนาลีนจะทำให้คนไข้มีอาการความดันโลหิตสูง, ปวดศรีษะ, เหงื่อออก, ใจสั่น เป็นต้น
การรักษา(Treatment) -1. perioperative medical management -2. การผ่าตัดในปัจจุบันการผ่าตัดผ่านกล้อง ( laparoscopic adrenalectomy) ได้รับการยอมรับว่าเป็นการผ่าตัดมาตรฐาน(gold standard) โดยมีโอกาสที่ต้องเปลี่ยนมาเปิดผ่าตัดแผลใหญ่น้อยกว่า 5% และให้ผลการรักษาที่ดีกว่าการผ่าตัดด้วยวิธี open adrrnalectomy ทั้งในแง่ ของการมีแผลผ่าตัดขนาดเล็กลดอตัราการตายย่นระยะเวลาพักรักษาตัวในโรงพยาบาล -3. การฉายแสงรังสีรักษามักใช้กับผู้ป่วยที่มีการแพร่กระจายไปที่กระดูก
หน้าที่ของต่อมไร้ท่อ 1. สร้างฮอร์โมนที่ควบคุมอารมณ์เจริญเติบโตการเผาผลาญการเจริญพันธุ์ 2. ต่อมไร้ท่อจะทำหน้าที่ควบคุมการสร้างและการปล่อยฮอร์โมนออกมา 3. ต่อมไร้ท่อจะส่งฮอร์โมนจะไปสู่เซลล์ต่างๆของร่างกายพร้อมกับกระแสเลือด
ต่อมไร้ท่อที่จำเป็นน้อยต่อร่างกาย (Non – Essential Endocrine Gland) -ต่อมไพเนียล (Pineal Grand) -ต่อมไทรอยด์(Thyroid) -ต่อมไทมัส (Thymus Grand) -ต่อมเพศ (Gonads)
ต่อมไร้ท่อที่จำเป็นต่อร่างกาย (Essential Endocrine Gland) -ต่อมพาราไทรอยด์(Parathyroid) -เนื้อเยื่อชั้นนอก (Adrenal Cortex) -ต่อมหมวกไต (Adrenal Gland) -ต่อมไอส์เลตส์ของตับอ่อน (Islets of Langerhans)
ต่อมไร้ท่อ (Endocrine Gland) คือ กลุ่มเซลล์หรือกลุ่มเนื้อเยื้อที่ทำหน้าที่สร้างและผลิตสารเคมีพิเศษที่เรียกว่า“ฮอร์โมน” (Hormone) ให้กับร่างกายซึ่งสารดังกล่าว ไม่สามารถผลิตได้ จากต่อมอื่นๆโดย สารเคมีหรือฮอร์โมนเหล่านั้นจะส่งเข้าสู่กระแสเลือดโดยตรงโดยไม่ผ่านท่อลำเลียงภายนอกดังนั้นต่อมไร้ท่อจึงเป็นอวัยวะที่ประกอบด้วยเส้นเลือดจำนวนมากเพื่อทำหน้าที่ลำเลียงสารที่ต่อมผลิตได้ไปยังอวัยวะต่างๆผ่านการไหลเวียนของน้ำเลือดหรือน้ำเหลื่องทั่วร่างกาย
นายอรรคเดช เพชรมีศรี UDA6380002